ช่องว่างระหว่างเมือง/ชนบท ในด้านการศึกษา ยังคงมีให้เห็นในสังคมไทย ที่อ การแปล - ช่องว่างระหว่างเมือง/ชนบท ในด้านการศึกษา ยังคงมีให้เห็นในสังคมไทย ที่อ อังกฤษ วิธีการพูด

ช่องว่างระหว่างเมือง/ชนบท ในด้านการ

ช่องว่างระหว่างเมือง/ชนบท ในด้านการศึกษา ยังคงมีให้เห็นในสังคมไทย ที่อยู่อาศัยที่มีความเป็นเทศบาลเมืองสูงก็มีโอกาสในด้านการศึกษาสูงกว่าภาคอื่น ๆ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นเมืองมีความสัมพันธ์ต่อโอกาสด้านการศึกษาอย่างชัดเจน
การพบเช่นนี้สอดคล้องกับแนวคิดแบบจำลองเศรษฐกิจครัวเรือน ที่ได้เน้นกลยุทธ์การลงทุนของครัวเรือน และเน้นที่ ปัจจัยโครงสร้างมหภาค อันได้แก่ ความต้องการแรงงาน อุปทานของการศึกษา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเพิ่มการศึกษาของเด็ก สำหรับครอบครัวยากจน โดยเฉพาะครอบครัวที่อยู่ถิ่นทุรกันดารที่มีข้อจำกัดในการเข้าถึงการเรียนนั้น มีแนวโน้มที่จะลงทุนน้อยด้านการศึกษากับเด็ก เพราะว่าครอบครัวให้ความสำคัญต่อการความเป็นอยู่ที่ดีด้านเศรษฐกิจ มากกว่าการศึกษาของเด็ก ภายใต้เงื่อนไขเช่นนี้เด็กต้องหยุดการเรียน และเข้าสู่กำลังแรงงาน เพื่อทำให้ครอบครัวมีสถานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
นอกจากนี้ ทรัพยากรครัวเรือน ก็มีความสัมพันธ์กับการศึกษา เช่นกัน โดยที่ทรัพยากรครัวเรือนในที่นี้ คือ ฐานะทางเศรษฐกิจ และการมีพ่อแม่ รวมถึง การศึกษาของพ่อแม่ด้วย ครัวเรือนที่ยากจนกว่ามีแนวโน้มที่เด็กจะได้รับโอกาสในการศึกษาน้อยกว่าครัวเรือนที่รวยกว่า ครัวเรือนที่ไม่มีพ่อแม่อยู่ โอกาสที่เด็กจะได้รับการศึกษาสูงมีค่อนข้างน้อย และยิ่งครัวเรือนที่มีพ่อแม่มีการศึกษาสูงโอกาสในการศึกษาของลูกก็ยิ่งมีมาก
สิ่งที่พบนี้สามารถนำแนวคิดเรื่องทุนวัฒนธรรมมาอธิบายได้ โดยแนวคิดเรื่องนี้กล่าวว่า เด็กที่มาจากครอบครัวที่พ่อแม่มีระดับการศึกษาน้อย มีแนวโน้มที่เด็กมีข้อจำกัดด้านทักษะการใช้ภาษา แบบแผนการมีปฏิสัมพันธ์มีน้อย และทัศนคติที่มีต่อการจะบรรลุถึงการเรียนมีน้อยด้วย ดังนั้นเด็กที่มีพ่อแม่ที่มีการศึกษาสูงจึงเหมือนว่าถูกจัดสรรให้ได้รับการศึกษา เพราะได้รับทุนทางวัฒนธรรมที่ดีกว่าเด็กโดยทั่วไป และในส่วนที่รูปแบบของทุนวัฒนธรรม สามารถถ่ายทอดจากคนรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้สำเร็จ ก็อาจจะสะท้อนความจริงที่ว่า ระดับการศึกษาที่สูงของพ่อแม่ ทำให้พ่อแม่คิดปรับปรุงคุณภาพและปริมาณที่พ่อแม่ใช้เวลากับลูกด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The gap between urban/rural areas in education still in Thai society is a residential municipality, there are high chances of higher education and other sectors, so that there is a potentially strong educational opportunities clearly. This was found to correspond to the concept of the economic model that focused on household investment strategies of households and on the macro structure factors, namely the supply of labour demand, education, etc. All of these influence the children's education. For poor families, especially families in the wilderness, with restrictions on access to learning. Tend to invest less in education with children because families give priority to economic well-being than child's education. Under conditions like these, children must stop studying and entry into the workforce capacity to make the family a better living status. In addition, household resources are related to education, as well as a resource in this household is as economic as well as parents and students parents. Poor households are more likely than boys to receive less education than rich households. Households without their parents are children's opportunities to receive higher education is relatively low, and even households whose parents have high school education of the children, the more there is. สิ่งที่พบนี้สามารถนำแนวคิดเรื่องทุนวัฒนธรรมมาอธิบายได้ โดยแนวคิดเรื่องนี้กล่าวว่า เด็กที่มาจากครอบครัวที่พ่อแม่มีระดับการศึกษาน้อย มีแนวโน้มที่เด็กมีข้อจำกัดด้านทักษะการใช้ภาษา แบบแผนการมีปฏิสัมพันธ์มีน้อย และทัศนคติที่มีต่อการจะบรรลุถึงการเรียนมีน้อยด้วย ดังนั้นเด็กที่มีพ่อแม่ที่มีการศึกษาสูงจึงเหมือนว่าถูกจัดสรรให้ได้รับการศึกษา เพราะได้รับทุนทางวัฒนธรรมที่ดีกว่าเด็กโดยทั่วไป และในส่วนที่รูปแบบของทุนวัฒนธรรม สามารถถ่ายทอดจากคนรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้สำเร็จ ก็อาจจะสะท้อนความจริงที่ว่า ระดับการศึกษาที่สูงของพ่อแม่ ทำให้พ่อแม่คิดปรับปรุงคุณภาพและปริมาณที่พ่อแม่ใช้เวลากับลูกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ช่องว่างระหว่างเมือง/ชนบท ในด้านการศึกษา ยังคงมีให้เห็นในสังคมไทย ที่อยู่อาศัยที่มีความเป็นเทศบาลเมืองสูงก็มีโอกาสในด้านการศึกษาสูงกว่าภาคอื่น ๆ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นเมืองมีความสัมพันธ์ต่อโอกาสด้านการศึกษาอย่างชัดเจน
การพบเช่นนี้สอดคล้องกับแนวคิดแบบจำลองเศรษฐกิจครัวเรือน ที่ได้เน้นกลยุทธ์การลงทุนของครัวเรือน และเน้นที่ ปัจจัยโครงสร้างมหภาค อันได้แก่ ความต้องการแรงงาน อุปทานของการศึกษา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเพิ่มการศึกษาของเด็ก สำหรับครอบครัวยากจน โดยเฉพาะครอบครัวที่อยู่ถิ่นทุรกันดารที่มีข้อจำกัดในการเข้าถึงการเรียนนั้น มีแนวโน้มที่จะลงทุนน้อยด้านการศึกษากับเด็ก เพราะว่าครอบครัวให้ความสำคัญต่อการความเป็นอยู่ที่ดีด้านเศรษฐกิจ มากกว่าการศึกษาของเด็ก ภายใต้เงื่อนไขเช่นนี้เด็กต้องหยุดการเรียน และเข้าสู่กำลังแรงงาน เพื่อทำให้ครอบครัวมีสถานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
นอกจากนี้ ทรัพยากรครัวเรือน ก็มีความสัมพันธ์กับการศึกษา เช่นกัน โดยที่ทรัพยากรครัวเรือนในที่นี้ คือ ฐานะทางเศรษฐกิจ และการมีพ่อแม่ รวมถึง การศึกษาของพ่อแม่ด้วย ครัวเรือนที่ยากจนกว่ามีแนวโน้มที่เด็กจะได้รับโอกาสในการศึกษาน้อยกว่าครัวเรือนที่รวยกว่า ครัวเรือนที่ไม่มีพ่อแม่อยู่ โอกาสที่เด็กจะได้รับการศึกษาสูงมีค่อนข้างน้อย และยิ่งครัวเรือนที่มีพ่อแม่มีการศึกษาสูงโอกาสในการศึกษาของลูกก็ยิ่งมีมาก
สิ่งที่พบนี้สามารถนำแนวคิดเรื่องทุนวัฒนธรรมมาอธิบายได้ โดยแนวคิดเรื่องนี้กล่าวว่า เด็กที่มาจากครอบครัวที่พ่อแม่มีระดับการศึกษาน้อย มีแนวโน้มที่เด็กมีข้อจำกัดด้านทักษะการใช้ภาษา แบบแผนการมีปฏิสัมพันธ์มีน้อย และทัศนคติที่มีต่อการจะบรรลุถึงการเรียนมีน้อยด้วย ดังนั้นเด็กที่มีพ่อแม่ที่มีการศึกษาสูงจึงเหมือนว่าถูกจัดสรรให้ได้รับการศึกษา เพราะได้รับทุนทางวัฒนธรรมที่ดีกว่าเด็กโดยทั่วไป และในส่วนที่รูปแบบของทุนวัฒนธรรม สามารถถ่ายทอดจากคนรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้สำเร็จ ก็อาจจะสะท้อนความจริงที่ว่า ระดับการศึกษาที่สูงของพ่อแม่ ทำให้พ่อแม่คิดปรับปรุงคุณภาพและปริมาณที่พ่อแม่ใช้เวลากับลูกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The gap between the urban / rural in education, there are still to be seen in Thai society. Housing with a high chance of municipality in education than other sectors. Therefore, may say thatFound this in line with the economic models of household. That the investment strategy of household, and focusing on the macro structure factor, namely to labor supply of education, etc.For a poor family The family is the wilderness with restrictions on access to learning. Tend to invest less in education to children. Because the family give priority to economic well-beingUnder such condition, children have to stop learning and into the labor force. To make family status better
.In addition, household resources, related to education, either by household resources here is the economic status and the parents. The education of the parents.Households have no parents. The probability that the child will receive higher education, there are quite a few. And the more households with parents have higher education opportunities in your child's education is more much
.What I found this can bring the concept of cultural capital to explain. By the concept that said. Children from families where parents have less education. Likely children have limitations in using language.And attitude towards learning to achieve less. So the children with parents with higher education is like being allocated to receive education. Because of the cultural capital is better than children in general.Can be transmitted from generation to generation parents successfully. It may reflect the fact that High education level of the parents. My parents thought to improve the quality and quantity of their parents spend time with you.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: