โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี - เอแอลเอส อันตรายแค่ไหนนะ?26 กุมภาพันธ์ 2 การแปล - โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี - เอแอลเอส อันตรายแค่ไหนนะ?26 กุมภาพันธ์ 2 อังกฤษ วิธีการพูด

โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี - เอแอล

โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี - เอแอลเอส อันตรายแค่ไหนนะ?
26 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 12:43 น.
หลายคนคงทราบข่าวที่ดาราสาว โอ๋ ภัคจีรา ป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี มานานแล้ว ซึ่งโรคนี้ทำให้เธอมีอาการอ่อนแรงที่ใบหน้า แขนขา และมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยในตอนนั้นแพทย์ไม่แนะนำให้ โอ๋ ตั้งครรภ์ เพราะกลัวว่าลูกในครรภ์จะติดโรคนี้จากเธอด้วย แต่ทว่า...เป็นเพราะสาวโอ๋อยากมีลูกมาก จึงตัดสินใจมีลูกตามธรรมชาติ ทำให้ตลอดระยะเวลาที่ตั้งครรภ์ เธอต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์เป็นอย่างดี จนกระทั่งคลอด "น้องแสนดี" ลูกสาวคนแรกออกมาเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทั้งนี้ แม้ว่า น้องแสนดี เมื่อแรกคลอดจะมีสุขภาพแข็งแรงดี แต่หลังจากตรวจสุขภาพอย่างละเอียดแล้ว กลับพบว่า น้องแสนดี ติดโรคเอ็มจีมาจากคุณแม่ด้วย แพทย์จึงต้องนำตัวเข้าห้องไอซียูสำหรับเด็กโดยทันที ขณะที่ สาวโอ๋ ก็ต้องหลั่งน้ำตาสงสารลูก แต่ก็ได้กำลังใจที่ดีจากครอบครัวและเพื่อน ๆ ที่จะต่อสู้กับโรคนี้ไปพร้อม ๆ กัน เรื่องราวของสาวโอ๋ และน้องแสนดี ที่ป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเอ็มจีนี้ ทำให้หลายคนอยากรู้ขึ้นมาทันทีว่า โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทเอ็มจี คือโรคอะไร ต่างกับโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอแอลเอส ที่คนส่วนใหญ่ได้ยินชื่อมากกว่าอย่างไร กระปุกดอทคอม จึงนำข้อมูลเกี่ยวกับโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอแอลเอส และโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี มาบอกต่อกัน โดยก่อนอื่น เรามารู้จักโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี แบบที่สาวโอ๋เป็นกันก่อนค่ะ สำหรับ โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส (myasthenia gravis) หรือ โรคเอ็มจี ฟังชื่อแล้วดูแปลก ๆ ไปสักนิด นั่นเพราะเป็นชื่อภาษากรีกและละติน มีความหมายว่า "grave muscular weakness" เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทหนึ่ง มักเกิดกับกล้ามเนื้อเล็ก ๆ บริเวณใบหน้า โดยมีการทำงานสื่อสารกันระหว่างเส้นประสาท และกล้ามเนื้อลายผิดปกติ ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง ทั้งนี้ โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ไม่ใช่โรคใหม่ แต่เป็นโรคที่มีมานานแล้ว โดยมีการบันทึกว่าพบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มาตั้งแต่ 300 ปีก่อนมักพบโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ในกลุ่มใด โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มักเกิดกับผู้ใหญ่ และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย แต่หากอาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส เริ่มเป็นหลังอายุ 40 ปี จะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงอาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จะมีอาการหนังตาตก ตาพร่ามัว พูดไม่ชัด เคี้ยวและกลืนลำบาก เพราะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า แต่หากเป็นมากก็อาจทำให้กล้ามเนื้อทั้งตัว เช่น กล้ามเนื้อแขนและขาอ่อนแรงลงได้ รวมทั้งกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับระบบหายใจ ทำให้หายใจลำบาก ไอไม่ได้ หรือหากรุนแรงมาก ๆ สามารถทำให้ระบบหายใจล้มเหลวได้เลยทีเดียว แต่สำหรับกล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบต่าง ๆ ในร่างกายจะไม่ได้รับผลกระทบไปด้วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จัดเป็นโรคเรื้อรัง อาการต่าง ๆ มักเป็น ๆ หาย ๆ อยู่ตลอดเวลา และอาการจะดีขึ้นเองหลังจากหยุดพักใช้งาน แต่มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้อาการโรคนี้รุนแรงขึ้น ได้แก่ การติดเชื้อ เป็นไข้ ร้อนหรือเย็นเกินไป เครียด ออกแรงมากเกินไป มีประจำเดือน ตั้งครรภ์ โรคเกี่ยวกับไทรอยด์ และการทานยาบางชนิด ทั้งนี้ ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ส่วนใหญ่จะมีอาการอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยใช้เวลาเป็นสัปดาห์จนถึงเดือน แต่ในบางรายอาจมีอาการรุนแรงฉับพลันได้ เช่น มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยมักมีอาการเปลี่ยนแปลงได้มากในช่วง 4 ปีแรก และมีอาการรุนแรงมากในช่วง 3 ปีแรก แต่หลังจากนั้นอาการจะคงที่ และค่อย ๆ ดีขึ้น โดยใช้เวลาเป็นปี ๆ หากได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่ถูกต้อง นอกจากนี้ ในเด็กบางคนที่เป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ตั้งแต่เกิด จะมีอาการแขนขาอ่อนแรง และขยับได้น้อย ส่วนเด็กที่เกิดจากมารดาที่เป็นโรคนี้ จะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงตั้งแต่แรกคลอด และเป็นอยู่ราว 2 สัปดาห์ ก่อนจะหายได้เองสาเหตุของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มีสาเหตุ 4 ประการที่ทำให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้ คือ 1. ร่างกายผู้ป่วยสร้างแอนติบอดี้ต่อโปรตีนชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวรับสารอะซิติลโคลีน โดยมักพบว่า ในตัวผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จะมีโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนน้อยกว่าคนปกติถึงหนึ่งในสาม เพราะร่างกายสร้างแอนติบอดี้มากำจัดโปรตีนชนิดนี้ไปเกือบหมด 2. สารอะซิติลโคลีน ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ ไม่สามารถทำงานได้ แม้ร่างกายจะหลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูกทำลายโดยแอนติบอดี้ที่ร่างกายสร้างขึ้น 3. กรรมพันธุ์ พบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส บางรายมีญาติพี่น้องป่วยเป็นโรคเดียวกันนี้เช่นกัน แม้ส่วนใหญ่จะพบว่า โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มักเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายก็ตาม 4. ความผิดปกติของต่อมไธมัส ทำให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้เช่นกัน โดยพบว่า เกิดจากเนื้องอกถึงร้อยละ 10 และเกิดจากต่อมไธมัสโตผิดปกติมากถึงร้อยละ 70 ซึ่งจะทำให้เกิดการสร้างแอนติบอดี้ต่อโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนในปริมาณ สูง จึงส่งผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อตามมา ดังนั้น จึงมักพบผู้ป่วยที่อายุระหว่าง 30-60 ปี ราวร้อยละ 20 มีอาการเนื้องอกที่ต่อมไธมัสด้วยการวินิจฉัย โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส แพทย์จะวินิจฉัยโดยการซักถามประวัติอย่างละเอียด และตรวจร่างกายระบบต่าง ๆ รวมทั้งระบบประสาท และทดสอบด้วยวิธีอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือไม่การรักษา โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มักพบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มีอาการร่วมกับโรคลูปัส (โรคเอสแอลอี หรือโรคพุ่มพวง) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือโรคเบาหวานประเภทที่หนึ่ง โดยในสมัยก่อนผู้ป่วยโรคนี้มีอัตราการเสียชีวิตสูงมาก แต่เมื่อค้นพบยารักษาโรคได้ จึงทำให้อัตราการตายของผู้ป่วยโรคนี้ลดลง โดยโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วย การให้ยาต้านฤทธิ์ของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส ทำให้สารอะซิติลโคลีนไม่ถูกทำลาย และการที่มีสารนี้อยู่นานขึ้น ก็สามารถจับกับตัวรับได้มากขึ้น ช่วยให้ออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น การให้ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ ช่วยให้อาการดีขึ้นหรืออาการหายขาดได้มากถึงร้อยละ 75 ของผู้ป่วยทั้งหมด การให้ย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Muscular disease patient mg-8 ls how dangerous!?February 26 at 12: 43 am 2013.หลายคนคงทราบข่าวที่ดาราสาว โอ๋ ภัคจีรา ป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี มานานแล้ว ซึ่งโรคนี้ทำให้เธอมีอาการอ่อนแรงที่ใบหน้า แขนขา และมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยในตอนนั้นแพทย์ไม่แนะนำให้ โอ๋ ตั้งครรภ์ เพราะกลัวว่าลูกในครรภ์จะติดโรคนี้จากเธอด้วย แต่ทว่า...เป็นเพราะสาวโอ๋อยากมีลูกมาก จึงตัดสินใจมีลูกตามธรรมชาติ ทำให้ตลอดระยะเวลาที่ตั้งครรภ์ เธอต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์เป็นอย่างดี จนกระทั่งคลอด "น้องแสนดี" ลูกสาวคนแรกออกมาเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทั้งนี้ แม้ว่า น้องแสนดี เมื่อแรกคลอดจะมีสุขภาพแข็งแรงดี แต่หลังจากตรวจสุขภาพอย่างละเอียดแล้ว กลับพบว่า น้องแสนดี ติดโรคเอ็มจีมาจากคุณแม่ด้วย แพทย์จึงต้องนำตัวเข้าห้องไอซียูสำหรับเด็กโดยทันที ขณะที่ สาวโอ๋ ก็ต้องหลั่งน้ำตาสงสารลูก แต่ก็ได้กำลังใจที่ดีจากครอบครัวและเพื่อน ๆ ที่จะต่อสู้กับโรคนี้ไปพร้อม ๆ กัน เรื่องราวของสาวโอ๋ และน้องแสนดี ที่ป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเอ็มจีนี้ ทำให้หลายคนอยากรู้ขึ้นมาทันทีว่า โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทเอ็มจี คือโรคอะไร ต่างกับโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอแอลเอส ที่คนส่วนใหญ่ได้ยินชื่อมากกว่าอย่างไร กระปุกดอทคอม จึงนำข้อมูลเกี่ยวกับโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอแอลเอส และโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี มาบอกต่อกัน โดยก่อนอื่น เรามารู้จักโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เอ็มจี แบบที่สาวโอ๋เป็นกันก่อนค่ะ สำหรับ โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส (myasthenia gravis) หรือ โรคเอ็มจี ฟังชื่อแล้วดูแปลก ๆ ไปสักนิด นั่นเพราะเป็นชื่อภาษากรีกและละติน มีความหมายว่า "grave muscular weakness" เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทหนึ่ง มักเกิดกับกล้ามเนื้อเล็ก ๆ บริเวณใบหน้า โดยมีการทำงานสื่อสารกันระหว่างเส้นประสาท และกล้ามเนื้อลายผิดปกติ ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง ทั้งนี้ โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ไม่ใช่โรคใหม่ แต่เป็นโรคที่มีมานานแล้ว โดยมีการบันทึกว่าพบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มาตั้งแต่ 300 ปีก่อนมักพบโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ในกลุ่มใด โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มักเกิดกับผู้ใหญ่ และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย แต่หากอาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส เริ่มเป็นหลังอายุ 40 ปี จะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงอาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จะมีอาการหนังตาตก ตาพร่ามัว พูดไม่ชัด เคี้ยวและกลืนลำบาก เพราะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า แต่หากเป็นมากก็อาจทำให้กล้ามเนื้อทั้งตัว เช่น กล้ามเนื้อแขนและขาอ่อนแรงลงได้ รวมทั้งกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับระบบหายใจ ทำให้หายใจลำบาก ไอไม่ได้ หรือหากรุนแรงมาก ๆ สามารถทำให้ระบบหายใจล้มเหลวได้เลยทีเดียว แต่สำหรับกล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบต่าง ๆ ในร่างกายจะไม่ได้รับผลกระทบไปด้วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จัดเป็นโรคเรื้อรัง อาการต่าง ๆ มักเป็น ๆ หาย ๆ อยู่ตลอดเวลา และอาการจะดีขึ้นเองหลังจากหยุดพักใช้งาน แต่มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้อาการโรคนี้รุนแรงขึ้น ได้แก่ การติดเชื้อ เป็นไข้ ร้อนหรือเย็นเกินไป เครียด ออกแรงมากเกินไป มีประจำเดือน ตั้งครรภ์ โรคเกี่ยวกับไทรอยด์ และการทานยาบางชนิด ทั้งนี้ ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ส่วนใหญ่จะมีอาการอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยใช้เวลาเป็นสัปดาห์จนถึงเดือน แต่ในบางรายอาจมีอาการรุนแรงฉับพลันได้ เช่น มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยมักมีอาการเปลี่ยนแปลงได้มากในช่วง 4 ปีแรก และมีอาการรุนแรงมากในช่วง 3 ปีแรก แต่หลังจากนั้นอาการจะคงที่ และค่อย ๆ ดีขึ้น โดยใช้เวลาเป็นปี ๆ หากได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่ถูกต้อง นอกจากนี้ ในเด็กบางคนที่เป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ตั้งแต่เกิด จะมีอาการแขนขาอ่อนแรง และขยับได้น้อย ส่วนเด็กที่เกิดจากมารดาที่เป็นโรคนี้ จะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงตั้งแต่แรกคลอด และเป็นอยู่ราว 2 สัปดาห์ ก่อนจะหายได้เองสาเหตุของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มีสาเหตุ 4 ประการที่ทำให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้ คือ 1. ร่างกายผู้ป่วยสร้างแอนติบอดี้ต่อโปรตีนชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวรับสารอะซิติลโคลีน โดยมักพบว่า ในตัวผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จะมีโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนน้อยกว่าคนปกติถึงหนึ่งในสาม เพราะร่างกายสร้างแอนติบอดี้มากำจัดโปรตีนชนิดนี้ไปเกือบหมด 2. สารอะซิติลโคลีน ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ ไม่สามารถทำงานได้ แม้ร่างกายจะหลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูกทำลายโดยแอนติบอดี้ที่ร่างกายสร้างขึ้น 3. กรรมพันธุ์ พบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส บางรายมีญาติพี่น้องป่วยเป็นโรคเดียวกันนี้เช่นกัน แม้ส่วนใหญ่จะพบว่า โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มักเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายก็ตาม 4. ความผิดปกติของต่อมไธมัส ทำให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้เช่นกัน โดยพบว่า เกิดจากเนื้องอกถึงร้อยละ 10 และเกิดจากต่อมไธมัสโตผิดปกติมากถึงร้อยละ 70 ซึ่งจะทำให้เกิดการสร้างแอนติบอดี้ต่อโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนในปริมาณ สูง จึงส่งผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อตามมา ดังนั้น จึงมักพบผู้ป่วยที่อายุระหว่าง 30-60 ปี ราวร้อยละ 20 มีอาการเนื้องอกที่ต่อมไธมัสด้วยการวินิจฉัย โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส แพทย์จะวินิจฉัยโดยการซักถามประวัติอย่างละเอียด และตรวจร่างกายระบบต่าง ๆ รวมทั้งระบบประสาท และทดสอบด้วยวิธีอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือไม่การรักษา โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มักพบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มีอาการร่วมกับโรคลูปัส (โรคเอสแอลอี หรือโรคพุ่มพวง) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือโรคเบาหวานประเภทที่หนึ่ง โดยในสมัยก่อนผู้ป่วยโรคนี้มีอัตราการเสียชีวิตสูงมาก แต่เมื่อค้นพบยารักษาโรคได้ จึงทำให้อัตราการตายของผู้ป่วยโรคนี้ลดลง โดยโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วย การให้ยาต้านฤทธิ์ของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส ทำให้สารอะซิติลโคลีนไม่ถูกทำลาย และการที่มีสารนี้อยู่นานขึ้น ก็สามารถจับกับตัวรับได้มากขึ้น ช่วยให้ออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น การให้ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ ช่วยให้อาการดีขึ้นหรืออาการหายขาดได้มากถึงร้อยละ 75 ของผู้ป่วยทั้งหมด การให้ย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
With myasthenia gravis MG - Avionics, dangerous?
26 February 2013 time 12: 43.
.Many people have heard the young actress. "Oh, ภัคจีรา patients with cataplexy type graphite. It แอสทีเนีย Swiss or Mg disease for a long time. Which this disease she has weak face, legs, arms, and symptoms of other illnesses.Oh, pregnant, for fear that the baby in the womb is from infected her. But....Because the girl Oh want kids. Decided to have a naturally. The period of pregnancy. She must be in charge of the doctor as well until birth brother "good" first daughter out on February 16 past.Although good brother when first born to be in good health. But after a thorough checkup. Found that younger good infection Mg from the mother. The doctor must taken into ICU for children immediately, while the girls there.But the great encouragement from family and friends to fight with the disease process. The story of the girl oh, brother and good patients with myasthenia gravis MG. Make a lot of people want to know immediately that the disease is muscle weakness.Is a disease with different with myasthenia gravis, avionics, most people have heard more than a name? กระปุกดอทคอม is the information about the disease, muscle weakness. ALS and muscle weakness. Mg tell each other by first.Mg a girl oh as before. For disease แอสที days. For Swiss (myasthenia gravis) or disease mg, listen to the name and strange. A bit that is the name of Greek and Latin meaning "grave muscular weakness" with weak muscles strong.Often associated with small muscles around the face. The working communication between nerve and muscle disorders causing muscle weakness. The disease that แอสที? Of Swiss, not a new disease, but the disease has for a long time.For Swiss. Since 300 years often found it แอสที disease. In any group of Swiss disease แอสที days. กราวิ is often associated with adults and found in the female than male. But if the symptoms of the disease that แอสที. For Swiss started after the age of 40 years.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: