แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษ การแปล - แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษ อังกฤษ วิธีการพูด

แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภู

แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัฒน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม

คำว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นพระราชดำรัสที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยไว้เมื่อประมาณ 25 ปีมาแล้ว อาจเรียกว่า เป็นทฤษฏีใหม่ก็ได้เพราะว่าเกิดจากแนวดำริที่พระองค์เป็นคนคิดค้นขึ้นมา เหตุที่เรียกว่า ทฤษฏีใหม่ก็เพราะว่า คำว่า“เศรษฐกิจพอเพียง”นั้น ไม่มีบัญญัติไว้ในพจนานุกรมมาก่อน พระองค์ทรงคิดขึ้นมาด้วยพระองค์เอง นับได้ว่าเป็นความอัจริยะภาพของพระองค์อย่างยิ่ง ทำให้เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก ในฐานะ“กษัตริย์นักปฏิรูป” หากจะกล่าวถึงคำว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั้น เราอาจจะคิดว่ามันเป็นเรื่องไกลตัวเป็นเรื่องของเศรษฐกิจน้อย ใหญ่ เป็นเรื่องเชย เป็นเรื่องของชาวนา ชาวสวน แต่ผู้เขียนก็พึ่งจะเข้าใจนี่เองว่า เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้สอนให้เราจน หรือว่า สอนให้เรามีเท่าไหร่ก็พอแค่นั้น ไม่หามาเพิ่ม ไม่ขวนขวายอีก อั้นนั้นก็ไม่ใช่สิ่งที่ต้องการ ปรัชญานี้สอนให้เรา เดินอยู่บนความพอดี อย่างเช่น ถ้าหากว่าเราเป็นคนจนมากๆ อยู่มาวันหนึ่ง มีคนพาเราไปกินอาหารภัตตาคารที่แพงที่สุดในโลก ได้กินอาหารรสเลิศ ..ถ้าเราเห็นแก่กินเกินไป คือ มีเท่าไหร่ก็กินให้หมด เอาให้คุ้ม พอกินไปกินมาลืมไปว่า กระเพาะเราก็มีความจุจำกัดเหมือนกัน กินซะจนกระเพาะแตกและตายในที่สุด …แต่หากว่า เราไม่โลภ รู้จักความพอดี เราก็จะกินแต่เพียงว่าอร่อย พออิ่มท้อง พอใจในอัตภาพที่กำลังเป็นอยู่ เราก็จะมีความสุขได้ ต่อมาก็ตรากตรำทำงานหาเงินเก็บ เอาไปลงทุนในทางที่สุจริต ซักวันเราก็รวยได้เหมือนกัน ..แต่ถ้าวันนั้นเรากินจนท้องแตกตายเสียก่อน เราก็ไม่มีโอกาสที่จะพัฒนาเศรษฐกิจ ไม่มีโอกาสที่จะยกระดับครอบครัวอีกแล้ว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The conceptual His Majesty King Bhumibol Adulyadej has developed the philosophy of sufficiency economy in order to provide civilian nationals access to Thailand the middle path of life, and to the theory of sustainable development. This theory is the basis of life, which is located between the local society and global level. The highlight of this philosophy is balanced by the national guidelines can be stylish and becoming universal, without resisting the current globalization and to address a combination of everyone in society. คำว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นพระราชดำรัสที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยไว้เมื่อประมาณ 25 ปีมาแล้ว อาจเรียกว่า เป็นทฤษฏีใหม่ก็ได้เพราะว่าเกิดจากแนวดำริที่พระองค์เป็นคนคิดค้นขึ้นมา เหตุที่เรียกว่า ทฤษฏีใหม่ก็เพราะว่า คำว่า“เศรษฐกิจพอเพียง”นั้น ไม่มีบัญญัติไว้ในพจนานุกรมมาก่อน พระองค์ทรงคิดขึ้นมาด้วยพระองค์เอง นับได้ว่าเป็นความอัจริยะภาพของพระองค์อย่างยิ่ง ทำให้เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก ในฐานะ“กษัตริย์นักปฏิรูป” หากจะกล่าวถึงคำว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั้น เราอาจจะคิดว่ามันเป็นเรื่องไกลตัวเป็นเรื่องของเศรษฐกิจน้อย ใหญ่ เป็นเรื่องเชย เป็นเรื่องของชาวนา ชาวสวน แต่ผู้เขียนก็พึ่งจะเข้าใจนี่เองว่า เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้สอนให้เราจน หรือว่า สอนให้เรามีเท่าไหร่ก็พอแค่นั้น ไม่หามาเพิ่ม ไม่ขวนขวายอีก อั้นนั้นก็ไม่ใช่สิ่งที่ต้องการ ปรัชญานี้สอนให้เรา เดินอยู่บนความพอดี อย่างเช่น ถ้าหากว่าเราเป็นคนจนมากๆ อยู่มาวันหนึ่ง มีคนพาเราไปกินอาหารภัตตาคารที่แพงที่สุดในโลก ได้กินอาหารรสเลิศ ..ถ้าเราเห็นแก่กินเกินไป คือ มีเท่าไหร่ก็กินให้หมด เอาให้คุ้ม พอกินไปกินมาลืมไปว่า กระเพาะเราก็มีความจุจำกัดเหมือนกัน กินซะจนกระเพาะแตกและตายในที่สุด …แต่หากว่า เราไม่โลภ รู้จักความพอดี เราก็จะกินแต่เพียงว่าอร่อย พออิ่มท้อง พอใจในอัตภาพที่กำลังเป็นอยู่ เราก็จะมีความสุขได้ ต่อมาก็ตรากตรำทำงานหาเงินเก็บ เอาไปลงทุนในทางที่สุจริต ซักวันเราก็รวยได้เหมือนกัน ..แต่ถ้าวันนั้นเรากินจนท้องแตกตายเสียก่อน เราก็ไม่มีโอกาสที่จะพัฒนาเศรษฐกิจ ไม่มีโอกาสที่จะยกระดับครอบครัวอีกแล้ว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The idea of King Bhumibol Adulyadej. Has developed a philosophy of sufficiency economy to the population in Thailand has reached the middle of life and to maintain the principle of sustainable development. This theory is the basis of life in between. Society at local and international level as well. Highlights of this philosophy is Balanced approach The modern nation can And to become universal. Without the anti-globalization And combinations of all the people in

it. "Sufficiency Economy" is that the royal speech of His Majesty the King of Thailand on his subjects, about 25 years ago, is said to be speculative because of a new line of thought that he was invented. Why called Because the new theory. The word "sufficiency economy" is. There is no provision in the dictionary before. He came up with the idea himself. Regarded as a genius in his very image. It is accepted worldwide. As the "King of the Reformation" If you mention the word. Just then, We might think of it as far as the economy at large is outdated. As a matter of peasant farmers, but the author was just me understand that. Sufficient economy It does not teach us that teaches us how much is enough, but it does not attempt to add another. That's not what they want. This philosophy teaches us Walking on the fit as if we are poor too. one day Someone took us to eat at expensive restaurants in the world. Eat food Selfish .. if we eat too much, it is good enough to eat up my food to eat to forget that. Bladder capacity was limited as well. Eat until the stomach and eventually die ... but if we do not recognize the coveted fit. It was delicious to eat, but just enough stomach upset in a conventionally well-being. We would be happy. The money collected was labored. Took to investing in good faith. One day we were rich as well. .. But if we eat well die before the break. We did not have the opportunity to develop the economy. No chance to raise a family again.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Concepts, King Bhumibol Adulyadej. Develop sufficiency economy to civilian people reach the middle of life and to maintain that the theory of sustainable development. This theory is the basis of existence which is between. The society at the local level and throughout the global level. The highlights of the philosophy this is balanced by the national guidelines can be modern and step to become universal. Without opposition to globalization. And staying a combination of everyone in the society.The word "Sufficiency economy". A message that the king was the Royal Thai citizens when approximately 25 years, may be called a new theory because the things that he is caused by คนคิดค้น. The so-called new theory because the word "Sufficiency economy". There is provided in the dictionary before. He thought of himself. After that, a genius of his pleasure. ทำให้เป็นที่ยอมรับ around the world. As the "king of the reformer." if they mention the word "Sufficiency economy". We may think that it"s the economy is far less big is cinnamon, is the subject of the farmers, but the author just got here. Sufficiency economy does not teach us till that teaches us how much is enough. Don"t get more, not want, hold that"s not what you want. This philosophy teaches us to walk on the fit, for example, if we are very poor at that ันหนึ่ง. Have led us to eat the most expensive restaurant in the world, eat delicious... If we eating too is much, eat all my money"s worth. Enough to eat to forget that the stomach has capacity limits. Eat until my stomach rupture and eventually die, but if we don"t covet. Know fit, we"ll eat but only that delicious enough stomach satisfied circumstances was taking on. We can be happy, then hard money away, to invest in the good faith. One day we can become rich, too. ... but if we die from eating.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: