ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำ การแปล - ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำ อังกฤษ วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษา

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้วิจัย สุขุมาลย์ อนุเวช ปริญญา ค.ต. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. สมปอง ศรีกัลยา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ผส. ดร. ประสพสุข สุทธิเดช อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
มหาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2558
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) ยืนยันผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระกับมัธยมศึกษาตอนปลาย วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 ตน ด้วยการสุ่ม แบบกลุ่มหลายชั้น(Multi-stage Cluster Sampling) ครูจำนวน 80 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียน ผู้บริหารจำนวน 52 คนโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 5 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและสัมภาษณ์ ระยะที่ 2 การศึกษาการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมปลาย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนจตุพักตรพิมานรัชดาภิเษก จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 40 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ 2 และระยะที่ 3 ได้แก่รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่ 3 การศึกษาผลการยืนยันการยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนยืนยันการใช้รูปแบบการสอน จำนวน 6 โรงเรียน นักเรียนจำนวน 195 คน ครูผู้สอน จำนวน 6 คน ใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย พื้นที่การวิจัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 สถิติที่ใช้ในการใช้วิจัย ได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̅)ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า T-Test (dependent samples)
ผลวิจัยพบว่า
1. ผลการการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือ แนวคิดและทฤษฎีของรูปแบบการสอน จุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอน สาระการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอน และการวัดและประเมินผลขั้นตอนการสอนมีลักษณะเป็น CREATE MODLE แบ่งเป็น 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมการสอน ประกอบด้วยกิจกรรม C = Cognition : การทำให้ตะหนักรับรู้ ขั้นที่ 2 การดำเนินการสอน ประกอบด้วย 2 กิจกรรมคือ กิจกรรม R = Reflection : การสะท้อนความคิดเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าและกิจกรรม E = Elaborate To Create : การร่วมกันคิดอย่างละเอียดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานขั้นที่ 3 การวัดประเมินผล แลละเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ประกอบด้วย 3 ประกอบด้วยกิจกรรม A =Assessment : การประเมินผลงาน กิจกรรม T = Thinking : การคิดเชื่อมโยงเพื่อแสดงผลงาน และกิจกรรม E= Exhibition : การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
2. ผลการศึกษาการใช้รูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ (2.1) จำนวนนักเรียนที่มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ร้อยละ 70 พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์ความคิดสร้างสรรค์ รอยละ 70 ทุกคน (2.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (2.3) ผลลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
3. ผลการยืนยันการขยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า (3.1) นักเรียนจำนวน 195 คน จาก 6 โรงเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทุกคน (3.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3.3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนจำนวน 195 คนที่มีต่อรูปแบบการภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The title. Development of teaching languages, Thailand to promote creativity, for high school students.The Commander of u.s medical researchers khu man degree c. t. (curriculum and instruction).Faculty Advisor Dr. kanlaya slumber I SI Master thesis advisors Phot. Dr. succeeds, health NET, Det Exclusive thesis advisorsRajabhat Maha sarakham University 2558 (2015)Abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) ยืนยันผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระกับมัธยมศึกษาตอนปลาย วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 ตน ด้วยการสุ่ม แบบกลุ่มหลายชั้น(Multi-stage Cluster Sampling) ครูจำนวน 80 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียน ผู้บริหารจำนวน 52 คนโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 5 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและสัมภาษณ์ ระยะที่ 2 การศึกษาการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมปลาย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนจตุพักตรพิมานรัชดาภิเษก จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 40 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ 2 และระยะที่ 3 ได้แก่รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่ 3 การศึกษาผลการยืนยันการยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนยืนยันการใช้รูปแบบการสอน จำนวน 6 โรงเรียน นักเรียนจำนวน 195 คน ครูผู้สอน จำนวน 6 คน ใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย พื้นที่การวิจัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 สถิติที่ใช้ในการใช้วิจัย ได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̅)ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า T-Test (dependent samples) ผลวิจัยพบว่า 1. ผลการการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือ แนวคิดและทฤษฎีของรูปแบบการสอน จุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอน สาระการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอน และการวัดและประเมินผลขั้นตอนการสอนมีลักษณะเป็น CREATE MODLE แบ่งเป็น 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมการสอน ประกอบด้วยกิจกรรม C = Cognition : การทำให้ตะหนักรับรู้ ขั้นที่ 2 การดำเนินการสอน ประกอบด้วย 2 กิจกรรมคือ กิจกรรม R = Reflection : การสะท้อนความคิดเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าและกิจกรรม E = Elaborate To Create : การร่วมกันคิดอย่างละเอียดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานขั้นที่ 3 การวัดประเมินผล แลละเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ประกอบด้วย 3 ประกอบด้วยกิจกรรม A =Assessment : การประเมินผลงาน กิจกรรม T = Thinking : การคิดเชื่อมโยงเพื่อแสดงผลงาน และกิจกรรม E= Exhibition : การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน2. ผลการศึกษาการใช้รูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ (2.1) จำนวนนักเรียนที่มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ร้อยละ 70 พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์ความคิดสร้างสรรค์ รอยละ 70 ทุกคน (2.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (2.3) ผลลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
3. ผลการยืนยันการขยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า (3.1) นักเรียนจำนวน 195 คน จาก 6 โรงเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทุกคน (3.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3.3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนจำนวน 195 คนที่มีต่อรูปแบบการภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Title Development of Teaching Thailand to promote creativity for students in upper secondary education
researcher Sukumal's conservative medical degree C.t. (curriculum and instruction)
advisor Professor Dr. Sompong Si Belle professor. Advisor
contact. Dr. Praspsuk net power co-advisor
Rajabhat Mahasarakham University. 2558
Abstract
This research aims to 1) develop a model for teaching Thailand to promote creativity for students in upper secondary education 2) study the effects of teaching models in Thailand to promote creativity for students. Late 3) confirm the results of the model language for Thailand to promote creativity among students with a high school education. How is the research methodology combines quantitative and qualitative research. The research is divided into three phases: Phase 1 development of language teaching style Thailand to promote creativity for students in upper secondary education. Population and sample Students at four of 100 trees with a random group of several layers (Multi-stage Cluster Sampling) teachers, 80 people were selected by simple random sampling of 60 school administrators, 52 by simple random sampling of 60. Supervisors school number 5 was used in the study. Questionnaires and interviews Phase 2 study, using a form of language teaching Thailand to promote innovative ideas for high school students. The sample Students at schools Piazza Phiman 4/3 Ratchadaphisek number one classroom of 40 students by simple random sampling (Simple Random Sampling) used in the Phase 2 and Phase 3 include forms of language teaching Thailand. to promote creativity for students of secondary schools to test their creativity. Assessment of satisfaction on learning by teaching model to promote creativity. For high school students at the end of Phase 3 study results confirm the results of the migration patterns of language teaching Thailand to promote creativity for students. School groups confirmed the teaching model number 6 school of 195 students, six teachers were using simple random sampling. Research areas Secondary Educational Service Area Office, Area 27 statistical methods used in the research. Including average (X̅) percentage Standard Deviation (SD) and the T-Test (dependent samples)
, the results found that
one. The developed model language Thailand to promote creativity for students in upper secondary education is composed of five elements. Concepts and theories of teaching styles. The aim of teaching styles. Learning Instruction And the measurement and evaluation of instruction is a CREATE MODLE divided into three stages: Stage 1 is preparing to teach. Activities include C = Cognition: to a selfish recognize Stage 2 operation instruction consists of two activities are activities R = Reflection: The reflection in response to stimuli and activity E = Elaborate To Create: The common thinking. Details for Creative Stage 3 assessment. The application consists of three linked activities include A = Assessment: Evaluation Event T = Thinking: Thinking linked to exhibitions and events, E = Exhibition: The exhibition of works by
two. The results take the form of teaching to promote creativity. For students in upper secondary education are: (2.1) The number of students who score a creative 70 percent of the students passed the creativity of 70 people (2.2), the creative before and after learning by using. A Teaching Thailand to promote creativity for students in upper secondary education vary significantly statistical level. 05 (2.3) results, the satisfaction of students on teaching style in Thailand. to promote creativity for students in upper secondary level
3. The results confirm the extension of the use patterns of language teaching Thailand to promote innovative ideas for high school students found that (3.1) Students of 195 people from six schools met 70 percent of all (3.2) Points creativity. Before and after learning the patterns of language teaching Thailand to promote creativity. Different levels of statistical significance. 05 (3.3) Satisfaction Study of 195 students with language styles Thailand to promote creativity. For students in upper secondary level.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2 ) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 ( 2Development of model English teaching to promote creativity for senior high school students
researcher intricate. Conservative medical degree, C. T. (curriculum and instruction)
adviser Dr..Sompong Si Belle advisor main thesis
I.. Dr. prasopsuk net det teacher adviser joint
Maha Sarakham Rajabhat University, thesis Abstract 2558

.The purpose of this study was to 1) the development of English Teaching in order to promote creative thinking for students in high school. 2).3) confirmed the effects of the English teaching to promote creativity for students at the high school. The research method and mixed method. Is a research, quantitative and qualitative research. The research is divided into 3 phases;1 photo development carry teaching English to promote creativity for students in secondary school Population and sample were Students of his 4 100 with random.Cluster Sampling) teachers and 80 people selected by random sampling from 60 school. They were 52 people by รสุ่มอย่างง่าย from 60 school. Supervisors were 5 instrument used in this study included a questionnaire and interview phase 2.The samples were the students 4 / 3 four-legged stay straight paradise Rd. school outstanding class 1 students 40 people. By random sampling (Simple Random Sampling) used in the phase 2 and phase 3.Assessment of satisfaction towards learning by teaching model to promote creativity. For high school students, the phase 3.The school confirmed using the teaching model of 6 school students 195. Teachers were 6. Using simple random sampling technique. Space research area Education Office designated 27 statistics used in the study.(x ̅) percentage standard deviation (S.D.) and the T-Test (dependent samples)

research found that 1.The development of English teaching to promote creativity for secondary school students 5 composition is composed of The concept and theory of the teaching model. The aim of the teaching model of learning.Measurement and evaluation of teaching process and the CREATE MODLE is divided into 3 step is a step 1 preparation teaching consists of activities. C = Cognition:To make aware awareness, step 2 classroom teaching consists of 2 activity is an activity R = Reflection: reflection response to stimuli and activities. E = Elaborate To Create:Thinking together thoroughly to creative work step 3 measurement and evaluation And associated application consists of 3 comprises A = Assessment: performance evaluation activities T = Thinking:Thinking the link to performance and activities E = Exhibition: an exhibition of the work, 2
. The study of the instructional model to promote creativity. For high school students: (2.1) students with creativity scores were 70 found that students through the creative thinking, Roy's 70 everyone (2.3) effects and satisfaction of students on English teaching model to promote creative thinking for students in 3
.2) creativity scores before and after the model of teaching English to ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ for high school students were significantly different. The 05 (2.The results confirm the extension of the model of teaching to promote creativity for upper secondary school students found that (3.1). Students 195 people from 6 school through the percentage standard 70 everyone (3.2) score of creativity. Before and after the English teaching to promote creativity. No statistically significant 05 (3.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: