โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา(แม่ฟ้าหลวง)ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ การแปล - โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา(แม่ฟ้าหลวง)ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ อังกฤษ วิธีการพูด

โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา(แม่ฟ้าหลวง)ท

โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
(แม่ฟ้าหลวง)
ที่ตั้งโครงการ
ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ค่าพิกัด X = 580000-584000 Y = 1393000-1399000 ในระบบ WGS 84 บนแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1 : 50,000 ลำดับชุด L7018 ระวาง 4934 II , III มีเนื้อที่ประมาณ 10,300 ไร่



ความเป็นมาของโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ให้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน เข้ามาร่วมดำเนินการ ส่วนการดำเนินงานโครงการฯ นั้น ระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่า ให้ปลูกแฝกเสริมไปด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทราย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2535 ในโอกาสนี้ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ ในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริ ให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้มีพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯ นี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่า อาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อว่า “โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ






ผลประโยชน์
1.จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้น และจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้น และเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2.ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่า จะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้ และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3.จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่า ผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ นำไปขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4.เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5.เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศน์วิทยา การอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป




ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯ บ่อยครั้ง นั้น สาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ ดินขาดความชุ่มชื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่า และสวนพฤกษศาสตร์มีวัชพืชขึ้นปกคลุมหนาแน่น เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืช เมื่อถึงฤดูแล้ง วัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดี ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะ
สำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่า ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น ควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรง และน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้ว เพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะ ๆ ให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นแอ่ง เพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดิน ทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่ง มีความชุ่มชื้นเขียวขจี สามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่า และการก่อสร้างบ่อ ตักตะกอน เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดิน ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
(แม่ฟ้าหลวง)
ที่ตั้งโครงการ
ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ค่าพิกัด X = 580000-584000 Y = 1393000-1399000 ในระบบ WGS 84 บนแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1 : 50,000 ลำดับชุด L7018 ระวาง 4934 II , III มีเนื้อที่ประมาณ 10,300 ไร่



ความเป็นมาของโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ให้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน เข้ามาร่วมดำเนินการ ส่วนการดำเนินงานโครงการฯ นั้น ระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่า ให้ปลูกแฝกเสริมไปด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทราย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2535 ในโอกาสนี้ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ ในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริ ให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้มีพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯ นี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่า อาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อว่า “โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ






ผลประโยชน์
1.จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้น และจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้น และเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2.ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่า จะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้ และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3.จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่า ผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ นำไปขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4.เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5.เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศน์วิทยา การอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป




ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯ บ่อยครั้ง นั้น สาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ ดินขาดความชุ่มชื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่า และสวนพฤกษศาสตร์มีวัชพืชขึ้นปกคลุมหนาแน่น เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืช เมื่อถึงฤดูแล้ง วัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดี ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะ
สำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่า ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น ควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรง และน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้ว เพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะ ๆ ให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นแอ่ง เพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดิน ทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่ง มีความชุ่มชื้นเขียวขจี สามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่า และการก่อสร้างบ่อ ตักตะกอน เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดิน ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา
(แม่ฟ้าหลวง)
ที่ตั้งโครงการ
ตั้งอยู่ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ค่าพิกัด X = 580000-584000 Y = 1393000-1399000 ในระบบ WGS 84 บนแผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน 1 : 50,000 ลำดับชุด L7018 ระวาง 4934 II , III มีเนื้อที่ประมาณ 10,300 ไร่



ความเป็นมาของโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ให้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน เข้ามาร่วมดำเนินการ ส่วนการดำเนินงานโครงการฯ นั้น ระมัดระวังอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่า ให้ปลูกแฝกเสริมไปด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินที่ศูนย์ศึกษาห้วยทราย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2535 ในโอกาสนี้ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ ในการนำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริ ให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้มีพระราชดำริ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการฯ นี้โดยให้พิจารณาพื้นที่ตอนบนด้วยว่า อาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อว่า “โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ






ผลประโยชน์
1.จะได้ให้มีพื้นที่ปลูกป่าที่เป็นรูปธรรมเพิ่มขึ้น และจะทำให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าและธรรมชาติมากขึ้น และเป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศชาติด้วย
2.ประชาชนที่บุกรุกทำลายป่า จะได้เห็นความสำคัญของป่าไม้ และมีความเป็นที่ดีขึ้น
3.จะได้รูปแบบการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโดยการปลูกป่า ผสมผสานกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ นำไปขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีสภาพคล้ายกันทั่วประเทศ
4.เป็นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
5.เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศน์วิทยา การอนุรักษ์ดินและน้ำแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป




ปัญหาอุปสรรค
จากการที่เกิดปัญหาไฟไหม้ลุกลามพื้นที่ของโครงการฯ บ่อยครั้ง นั้น สาเหตุเกิดจากสภาพแห้งแล้งภายในพื้นที่ ดินขาดความชุ่มชื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาวัชพืชในแปลงปลูกป่า และสวนพฤกษศาสตร์มีวัชพืชขึ้นปกคลุมหนาแน่น เนื่องจากไม่มีงบประมาณในการกำจัดวัชพืช เมื่อถึงฤดูแล้ง วัชพืชเหล่านี้จะเป็นแหล่งเชื้อเพลิงอย่างดี ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่มีน้อยไม่สามารถดูแลพื้นที่ได้ทั่วถึง

ข้อเสนอแนะ
สำหรับแนวทางในการป้องกันไฟป่า ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น ควรจะจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาป่าโดยตรง และน่าจะสร้างฝายคันดินอย่างง่ายหรือฝายแม้ว เพื่อกั้นร่องน้ำซึ่งมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่เป็นระยะ ๆ ให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นแอ่ง เพื่อสร้างความชุ่มชื้นสะสมไว้ในดิน ทำให้แฝกและต้นไม้ตามขอบแนวตลิ่ง มีความชุ่มชื้นเขียวขจี สามารถเป็นแนวป้องกันไฟป่าไหม้ลุกลามได้อีกวิธีหนึ่งการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำร่วมกับการปลูกป่า และการก่อสร้างบ่อ ตักตะกอน เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อโทรมของทรัพยากรดิน ทำให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ดีขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Reforestation project development (DOI)


, the location of the projectLocated in tambon Nong, persimmon, Hua Hin District, province and district new farm development in Cha-Am District, Phetchaburi, coordinates X = 580000-584000 Y. = 1393000-1399000 in the system WGS 84 on Thailand map scale, 1: 50 000 sequence, set L7018 tonnage, 4934 IIIII has an area of approximately 10 300 Rai,




, the background of the projectHis Majesty the king. And the srinagarindra. A royal to royal forest to the Thai people. On the occasion of the king's reign was 50 years.The study on 16 July B.Professor 2536. Mr.Dis nephew, insurance, Secretary General of DOI and you shame, Secretary to the board. To coordinate the project due to the initiative. And by his DOIThe various departments, such as the Department of forestry department and the land into operating the project, be careful not to affect the land of the villagers. And in the project area forest.His Majesty the king. And served for the center for the study 22 Sai, on July2535 on this occasion. The land covers 4 initiative. In the implementation of such areas used in the study of the information about the development of grass had a royal developement, Department of forestry department and land development.When B.Prof.2535 in the deception Creek Reservoir Which is in the area of the project. This by considering the area on that May create a small reservoir, and later his DOIThe area is the royal forests by called "reforestation project development - I receive"
.

1 purposes.For the conservation, development, rehabilitation of natural environment, both in the forest, water resources, soil, as well as other circumstances to engender the integrity to the land. The forest andRestoration of soil quality by using vetiver grass and water supply
.2. To strengthen the consciousness of good and responsible attitude to the country to the people in the local. And the public participation in development projects to most
3.So people impoverished area can exploit forest planted
4. To bring their studies, experiment of Education Development Center, and various projects. Any initiative to maximize
5.To study, research and development on Vetiver Grass initiative







1 benefits.To provide a concrete afforest area increased. And will make people have a conscience in the conservation of wildlife and nature more and more. And the environmental problems of the country
2.The forest encroachment To see the importance of the forest. And there is a better
3.The restoration of degraded land can form by the forest. Combined with planting grass for soil and water conservation, and panned in other areas with similar nationwide
4 Committee.A restoration of land resources utilization properly. Making the environment and ecology better
5.A study on the botanical source ecosystem. Soil and water conservation to state officials and the general public





. ProblemsThe problem of fire spread area of the project often is caused by the drought area soil within the lack of moisture. Especially the weed problems in converting forest.Due to the lack of budget in weed control. When the dry season. These weeds as a fuel source. Along with the going rate is unable to take care of staff area thoroughly
.

. SuggestionsFor the development of forest fire prevention. That might happen in the future. Should be allocated in the forest directly. Should build the dam embankment and simple or check dam. To stem the raceway, which is common in the area periodically.To create the moisture stored in the soil. The vetiver and trees along the edge of the river bank with moisture, lush and green. Can the fire prevention fire spreading are another way of planting vetiver grass for soil and water conservation and forest.To solve the problem of sludge scoop mat shabby of soil resources. Making the environment and ecology better
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: