ผลผลิตยางธรรมชาติประมาณร้อยละ 70 มาจากแหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ไทย อินโดน การแปล - ผลผลิตยางธรรมชาติประมาณร้อยละ 70 มาจากแหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ไทย อินโดน อังกฤษ วิธีการพูด

ผลผลิตยางธรรมชาติประมาณร้อยละ 70 มา

ผลผลิตยางธรรมชาติประมาณร้อยละ 70 มาจากแหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยไทยเป็นประเทศที่ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุด ซึ่งเน้นที่การผลิตยางแผ่นรมควันและน้ำยางข้น ยางแผ่นที่ไทยสามารถผลิตได้มากที่สุด คือ ยางแผ่นรมควันชั้น 3 อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่รองลงมาเป็นอันดับ 2 และผลิตยางแท่งมากที่สุดในโลก สำหรับมาเลเซียเป็นประเทศผู้ผลิตอันดับสามของโลกโดยเน้นที่การผลิตยางแท่งเช่นเดียวกับอินโดนีเซีย แต่อย่างไรก็ตามทั้งอินโดนีเซียและมาเลเซียก็มีการผลิตยางแผ่นรมควัน แต่ส่วนใหญ่เป็นยางแผ่นรมควันชั้น 1 ในปัจจุบันศักยภาพการผลิตยางธรรมชาติของมาเลเซียเริ่มลดลง เนื่องจากขาดแรงงานและมีการลดพื้นที่การปลูกยางมาปลูกปาล์มน้ำมันแทน และหันมาสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศ โดยเน้นการใช้ยางธรรมชาติที่ผลิตได้ในประเทศ ซึ่งปัจจุบันไม่เพียงพอกับความต้องการจึงต้องนำเข้าน้ำยางดิบจากประเทศไทยบางส่วน
จากรายงานผลผลิตยางธรรมชาติของโลกในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา (2541-2544) ของ League Management Committee (LMC) พบว่าปริมาณการผลิตยางธรรมชาติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยประมาณร้อยละ 0.5 ต่อปี กล่าวคือ จาก 6.821 ล้านตันในปี 2541 เป็น 6.979 ล้านตันในปี 2544 ซึ่งในปี 2544 มีปริมาณการผลิตยางแทบจะเท่ากับในปี 2543 แม้ว่าในปี 2543 จะมีการผลิตยางมากกว่าปี 2542 ร้อยละ 2.2 โดยปริมาณการผลิตยางของมาเลเซียและอินโดนีเซียลดลงในปี 2542 ขณะที่ไทยและเวียดนามมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่การเพาะปลูกยาง ซึ่งเวียดนามได้มีแผนพัฒนาการปลูกยางว่าจะขยายพื้นที่ปลูกยางจาก 1.875 ล้านไร่ในปี 2542 เป็น 4.375 ล้านไร่ในปี 2548 ทางด้านมาเลเซียก็กำลังพยายามหาทางขยายการปลูกยางในประเทศกินี ทวีปแอฟริกาตะวันตก ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์และต้นทุนถูกกว่า แต่ในปี 2544 ปริมาณการผลิตยางของไทยก็ลดลงขณะที่อินโดนีเซียมีการผลิตยางเพิ่มขึ้นชดเชย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ผลผลิตยางธรรมชาติประมาณร้อยละ 70 มาจากแหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยไทยเป็นประเทศที่ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุด ซึ่งเน้นที่การผลิตยางแผ่นรมควันและน้ำยางข้น ยางแผ่นที่ไทยสามารถผลิตได้มากที่สุด คือ ยางแผ่นรมควันชั้น 3 อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่รองลงมาเป็นอันดับ 2 และผลิตยางแท่งมากที่สุดในโลก สำหรับมาเลเซียเป็นประเทศผู้ผลิตอันดับสามของโลกโดยเน้นที่การผลิตยางแท่งเช่นเดียวกับอินโดนีเซีย แต่อย่างไรก็ตามทั้งอินโดนีเซียและมาเลเซียก็มีการผลิตยางแผ่นรมควัน แต่ส่วนใหญ่เป็นยางแผ่นรมควันชั้น 1 ในปัจจุบันศักยภาพการผลิตยางธรรมชาติของมาเลเซียเริ่มลดลง เนื่องจากขาดแรงงานและมีการลดพื้นที่การปลูกยางมาปลูกปาล์มน้ำมันแทน และหันมาสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศ โดยเน้นการใช้ยางธรรมชาติที่ผลิตได้ในประเทศ ซึ่งปัจจุบันไม่เพียงพอกับความต้องการจึงต้องนำเข้าน้ำยางดิบจากประเทศไทยบางส่วน จากรายงานผลผลิตยางธรรมชาติของโลกในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา (2541-2544) ของ League Management Committee (LMC) พบว่าปริมาณการผลิตยางธรรมชาติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยประมาณร้อยละ 0.5 ต่อปี กล่าวคือ จาก 6.821 ล้านตันในปี 2541 เป็น 6.979 ล้านตันในปี 2544 ซึ่งในปี 2544 มีปริมาณการผลิตยางแทบจะเท่ากับในปี 2543 แม้ว่าในปี 2543 จะมีการผลิตยางมากกว่าปี 2542 ร้อยละ 2.2 โดยปริมาณการผลิตยางของมาเลเซียและอินโดนีเซียลดลงในปี 2542 ขณะที่ไทยและเวียดนามมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่การเพาะปลูกยาง ซึ่งเวียดนามได้มีแผนพัฒนาการปลูกยางว่าจะขยายพื้นที่ปลูกยางจาก 1.875 ล้านไร่ในปี 2542 เป็น 4.375 ล้านไร่ในปี 2548 ทางด้านมาเลเซียก็กำลังพยายามหาทางขยายการปลูกยางในประเทศกินี ทวีปแอฟริกาตะวันตก ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์และต้นทุนถูกกว่า แต่ในปี 2544 ปริมาณการผลิตยางของไทยก็ลดลงขณะที่อินโดนีเซียมีการผลิตยางเพิ่มขึ้นชดเชย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ผลผลิตยางธรรมชาติประมาณร้อยละ 70 มาจากแหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยไทยเป็นประเทศที่ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุด ซึ่งเน้นที่การผลิตยางแผ่นรมควันและน้ำยางข้น ยางแผ่นที่ไทยสามารถผลิตได้มากที่สุด คือ ยางแผ่นรมควันชั้น 3 อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่รองลงมาเป็นอันดับ 2 และผลิตยางแท่งมากที่สุดในโลก สำหรับมาเลเซียเป็นประเทศผู้ผลิตอันดับสามของโลกโดยเน้นที่การผลิตยางแท่งเช่นเดียวกับอินโดนีเซีย แต่อย่างไรก็ตามทั้งอินโดนีเซียและมาเลเซียก็มีการผลิตยางแผ่นรมควัน แต่ส่วนใหญ่เป็นยางแผ่นรมควันชั้น 1 ในปัจจุบันศักยภาพการผลิตยางธรรมชาติของมาเลเซียเริ่มลดลง เนื่องจากขาดแรงงานและมีการลดพื้นที่การปลูกยางมาปลูกปาล์มน้ำมันแทน และหันมาสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศ โดยเน้นการใช้ยางธรรมชาติที่ผลิตได้ในประเทศ ซึ่งปัจจุบันไม่เพียงพอกับความต้องการจึงต้องนำเข้าน้ำยางดิบจากประเทศไทยบางส่วน
จากรายงานผลผลิตยางธรรมชาติของโลกในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา (2541-2544) ของ League Management Committee (LMC) พบว่าปริมาณการผลิตยางธรรมชาติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยประมาณร้อยละ 0.5 ต่อปี กล่าวคือ จาก 6.821 ล้านตันในปี 2541 เป็น 6.979 ล้านตันในปี 2544 ซึ่งในปี 2544 มีปริมาณการผลิตยางแทบจะเท่ากับในปี 2543 แม้ว่าในปี 2543 จะมีการผลิตยางมากกว่าปี 2542 ร้อยละ 2.2 โดยปริมาณการผลิตยางของมาเลเซียและอินโดนีเซียลดลงในปี 2542 ขณะที่ไทยและเวียดนามมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่การเพาะปลูกยาง ซึ่งเวียดนามได้มีแผนพัฒนาการปลูกยางว่าจะขยายพื้นที่ปลูกยางจาก 1.875 ล้านไร่ในปี 2542 เป็น 4.375 ล้านไร่ในปี 2548 ทางด้านมาเลเซียก็กำลังพยายามหาทางขยายการปลูกยางในประเทศกินี ทวีปแอฟริกาตะวันตก ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์และต้นทุนถูกกว่า แต่ในปี 2544 ปริมาณการผลิตยางของไทยก็ลดลงขณะที่อินโดนีเซียมีการผลิตยางเพิ่มขึ้นชดเชย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Natural rubber output approximately 70 from sources that matters is in Indonesia and Malaysia Thailand is a country that produces the largest natural rubber Which focuses on the production, rubber smoked sheet and latexRubber smoked sheet layer is 3 Indonesia's major rubber second ranked 2 and manufacture of rubber in the world.However, both Indonesia and Malaysia have ribbed smoke sheet. But mostly I smoked rubber sheets 1 current potential natural rubber production of Malaysia began to decrease.To support the domestic rubber products industry By focusing on the use of natural rubber production in the country. Currently, insufficient for the demand had to import raw latex from Thailand partial
.From the output of the world in the natural rubber 4 years (2541-2544) of League Management Committee (LMC) showed that the quantity of natural rubber production tends to increase in the average rate of about 0.5 percent per year. That is, from the 6.821 million tons in 2541 is 6.979 million tons in 2544 which in 2544 have rubber production almost equal in 2543, although in 2543 have rubber production over the years 2542 2 percent.2 by rubber production of Malaysia and Indonesia declined in 2542 as Thailand and Vietnam have volume production increased from expanding rubber plantation The Vietnam plans to expand the development of rubber rubber plantation from 1.875 million hectares in 2542 is 4.375 million hectares in 2548 in Malaysia, it was trying to expand the planting in Guinea continent west Africa which has rich and cheaper cost. But in 2544.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: