เพลงบรรเลงหมายถึง เพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไม่มีเนื้อร้อง มีจุดมุ่งหมายที่ การแปล - เพลงบรรเลงหมายถึง เพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไม่มีเนื้อร้อง มีจุดมุ่งหมายที่ อังกฤษ วิธีการพูด

เพลงบรรเลงหมายถึง เพลงที่เขียนขึ้นม

เพลงบรรเลง
หมายถึง เพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไม่มีเนื้อร้อง มีจุดมุ่งหมายที่จะใช้ในการบรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในวงนั้นๆ โดยบรรเลงทำนองเพลงสอดสลับกันไป เพื่อทำให้เกิดท่วงทำนองทีไพเราะตามลักษณะของเพลงที่นำมาบรรเลง เพลงที่จัดอยู่ในประเภทเพลงบรรเลงมีอยู่หลายชนิด ดังนี้
เพลงโหมโรง เพลงโหมโรง
หมายถึง เพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลงแรก เป็นการประโคมดนตรีเบิกโรงก่อนที่จะมีการแสดงเพลงอื่นๆ วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประกาศให้ชาวบ้านได้ทราบว่า สถานที่นั้นจะมีงานหรือกิจกรรมอะไร โดยใช้เสียงเพลงเป็นสื่อในพิธีกรรมบางพิธีจะใช้เพลงโหมโรงเพื่ออัญเชิญเทพยดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้มาร่วมในพิธี เพื่อความเป็นสิริมงคล
โหมโรงปี่พาทย์
เพลงเรื่อง
หมายถึง เป็นที่ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงล้วนๆ นิยมบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ มากกว่าบรรเลงด้วยวงเครื่องสายและวงมโหรี เป็นเพลงชุด ซึ่งประกอบด้วยเพลงหลายๆ เพลง ที่มีทำนองคล้ายคลึงกัน อัตราจังหวะเดียวกัน หน้าทับอย่างเดียวกัน เอามาร้อยกรองกัน เข้าบรรเลงติดต่อกันไป ใช้บรรเลงเมื่อต้องการระยะเวลายาวนาน เช่น บรรเลงหลังโหมโรงเย็น เพื่อรอพระที่จะมาสวดมนต์เย็น
เพลงหางเครื่อง
เพลงหางเครื่อง
หมายถึง เป็นเพลงที่บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่หรือเพลงแม่บท คือเพลงสามชั้นหรือเพลงเถาที่นำมาบรรเลงก่อน เพลงหางเครื่องที่นำมาบรรเลงนั้นต้องคำนึงถึงสำเนียงภาษาและอารมณ์ของเพลงนั้นด้วย เช่น ถ้าบรรเลงเพลงแม่บทด้วยเพลงเขมรพวงเถาแล้วจะต้องออกหางเครื่องด้วยเพลงชุดเขมรตามไปด้วย เป็นต้น โดยปกติเพลงหางเครื่องจะจัดไว้เป็นชุดๆ ตามสำเนียงภาษาของเพลง เพลงออกภาษา
หมายถึง การนำเอาเพลงที่มีสำเนียงภาษาหลายๆ ภาษา มาบรรเลงรวมกันเป็นชุด และบรรเลงหลังจากบรรเลงเพลงใหญ่จบแล้ว เพลงออกภาษามีลักษณะสนุกสนานเร้าใจ แล้วยังเป็นการแสดงความสามารถของนักดนตรีอีกด้วย ก่อนจะออกภาษาใดก็ตามจะต้องเริ่มบรรเลงด้วย 4 ภาษา ก่อน คือ จีน เขมร ตลุง และพม่า กลองที่นำมาใช้ในการบรรเลงประกอบบทเพลงสามารถที่จะใช้สื่อความหมายของสำเนียงภาษาต่างๆ ได้ เช่น กลองแขก ใช้ออกภาษาแขก กลองเมริกัน ใช้ออกภาษาฝรั่ง เป็นต้น
เพลงเดี่ยว
หมายถึง เป็นเพลงที่สร้างขึ้นสำหรับเครื่องดนตรีเพียงชิ้นเดียว บรรเลงเพื่อเป็นการอวดฝีมือและความสามารถของนักดนตรี เพลงที่นิยมนำมาเดี่ยวมีมากมาย เช่น เพลงกราวใน เพลงสารถี เพลงพญาโศก เพลงลาวแพน เพลงอาหนู เพลงจีนขิมใหญ่ เป็นต้น
เพลงหน้าพาทย์
เพลงหน้าพาทย์ หมายถึง เพลงที่ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอาการ อารมณ์ของตัวละคร เพลงหน้าพาทย์เป็นเพลงที่มีทำนอง และจังหวะกำหนดเป็นแบบแผน รวมทั้งกำหนดโอกาสใช้ไว้อย่างแน่นอน โดยทั่วไปเพลงหน้าพาทย์จะไม่มีบทร้อง ใช้บรรเลงเป็นทำนองเท่านั้น ที่บรรจุเนื้อร้องก็มีบ้าง ที่พบได้แก่ เพลงตระนิมิต เพลงกราวนอก เป็นต้น เพลงหน้าพาทย์ส่วนมากจะมีท่ารำกำหนดไว้เฉพาะในแต่ละเพลง และเพลงหน้าพาทย์เพลงเดียวกัน การใช้ท่ารำของตัวละครไทยคือ พระ นาง ยักษ์ ลิง ก็ ย่อมจะแตกต่างกันไป

เพลงหน้าพาทย์แบ่งออกเป็น หน้าพาทย์ธรรมดา และหน้าพาทย์ชั้นสูง
๑. หน้าพาทย์ธรรมดา ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอารมณ์ของตัวละครที่เป็นสามัญชน เป็นเพลงหน้าพาทย์ไม่บังคับความยาว การจะหยุด ลงจบ หรือเปลี่ยนเพลง ผู้บรรเลงจะต้องดูท่ารำของตัวละครเป็นหลัก เพลงหน้าพาทย์ชนิดนี้โดยมากใช้กับการแสดงลิเกหรือละคร เช่น เพลงเสมอ เพลงเชิด เพลงรัว เพลงโอด
๒. หน้าพาทย์ชั้นสูงเรียกอีกอย่างว่า "เพลงครู" ถือว่าเป็นเพลงที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้บรรเลงประกอบกิริยา อารมณ์ของตัวละครผู้สูงศักดิ์หรือเทพเจ้าต่างๆ เป็นเพลงหน้าพาทย์ประเภทบังคับความยาว ผู้รำจะต้องยืดทำนองและจังหวะของเพลงเป็นหลักสำคัญ จะตัดให้สั้นหรือเติมให้ยาวตามใจชอบไม่ได้ โดยมากใช้กับการแสดงโขน ละคร และใช้ในพิธีไหว้ครู ครอบครูดนตรีและนาฏศิลป์ เช่น เพลงตระนอน เพลงกระบองกัน เพลงตระบรรทมสินธุ์ เพลงบาทสกุณี เพลงองค์พระพิราพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพลงองค์พระพิราพ ถือกันว่าเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงสุดในบรรดาเพลงหน้าพาทย์ทั้งหลาย

เพลงหน้าพาทย์แบ่งตามหน้าที่การนำไปใช้ประกอบการแสดงของตัวละครแบ่งได้ ๗ ลักษณะ คือ
๑. เพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาไปมา ได้แก่ เพลงเสมอใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไม่ รีบร้อน เพลงเชิดใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะไกลไปมาอย่างรีบร้อน เพลงเสมอนอกจากเพลงเสมอธรรมดาแล้ว ยังมีเพลงเสมอตามลักษณะของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครอีก เช่น เสมอลาว เสมอมอญ เสมอพม่า เสมอมาร เสมอเถร เป็นต้น เสมอลาว เสมอมอญ ข้อสังเกตให้ดูจากเครื่องแต่งกายของผู้แสดง เพลงฉิ่งใช้ประกอบกิริยาอาการเคลื่อนไหว นวยนาดกรีดกราย เล่นสนุกสนาน ชมสวน ชมป่า เก็บดอกไม้หรือเที่ยววนเวียนอยู่ในสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เพลงบาทสกุณีใช้ประกอบการเคลื่อนไหวไปมามีพิธีรีตรอง ใช้เฉพาะกับตัวละครตัวพระ-นาง ที่มีศักดิ์ เพลงพระยาเดินใช้ประกอบกิริยาไปมาที่ไม่รีบร้อน สำหรับผู้สูงศักดิ์เป็นหมู่พร้อมด้วยข้าราชบริพาร เพลงรุกร้นใช้ประกอบการแสดงไปอย่างมีระเบียบ เพลงเสมอข้ามสมุทร ใช้ประกอบการนำกองทัพเดินข้ามสมุทรเท่านั้น ใช้เฉพาะตัวพระราม เพลงเหาะใช้ประกอบกิริยาไปมาทางอากาศของเทวดา นางฟ้า (ในพิธีไหว้ครูโขน-ละคร เป็นการอัญเชิญพระศวร) เพลงโคมเวียนใช้ประกอบกิริยาการเดินทางในอากาศของเทวดาและนางฟ้า
เพลงกลมใช้ประกอบการไป มาของตัวละครที่สูงศักดิ์ เช่น พระอินทร์ เจ้าเงาะ ในเรื่อง สังข์ทอง (ในพิธีไหว้ครูดขน-ละคร เป็นการอัญเชิญพระวิษณุกรรม) เพลงแผละใช้ประกอบกิริยาการไปมาของสัตว์มีปีกที่บินทางอากาศ เช่น นก ครุฑ เป็นต้น เพลงชุบใช้ประกอบกิริยาไปมาของตัวละครศักดิ์ต่ำ เช่น นางกำนัล เพลงโล้ใช้ประกอบกิริยาไปมาทางนำ
๒. เพลงหน้าพาทย์ประกอบการยกพล ยกทัพได้แก่ เพลงกราวนอกสำหรับการยกทัพของมนุษย์ ลิง เพลงกราวใน สำหรับการยกทัพของยักษ์ เพลงกราวกลางสำหรับการยกทัพของมนุษย์
๓.เพลงหน้าพาทย์ประกอบความสนุกสนานร่าเริงได้แก่ เพลงกราวรำสำหรับกิริยาเยาะเย้ย
เพลงสีนวล สำหรับแสดงความร่างเริงเบิกบานใจสำหรับสตรี เพลงช้า เพลงเร็ว สำหรับแสดงความเบิกบานใ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เพลงบรรเลงหมายถึงเพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไม่มีเนื้อร้องมีจุดมุ่งหมายที่จะใช้ในการบรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในวงนั้น ๆ โดยบรรเลงทำนองเพลงสอดสลับกันไปเพื่อทำให้เกิดท่วงทำนองทีไพเราะตามลักษณะของเพลงที่นำมาบรรเลงเพลงที่จัดอยู่ในประเภทเพลงบรรเลงมีอยู่หลายชนิดดังนี้เพลงโหมโรงเพลงโหมโรง หมายถึงเพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลงแรกเป็นการประโคมดนตรีเบิกโรงก่อนที่จะมีการแสดงเพลงอื่น ๆ วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประกาศให้ชาวบ้านได้ทราบว่าสถานที่นั้นจะมีงานหรือกิจกรรมอะไรโดยใช้เสียงเพลงเป็นสื่อในพิธีกรรมบางพิธีจะใช้เพลงโหมโรงเพื่ออัญเชิญเทพยดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้มาร่วมในพิธีเพื่อความเป็นสิริมงคลโหมโรงปี่พาทย์ เพลงเรื่อง หมายถึงเป็นที่ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงล้วน ๆ นิยมบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์มากกว่าบรรเลงด้วยวงเครื่องสายและวงมโหรีเป็นเพลงชุดซึ่งประกอบด้วยเพลงหลาย ๆ เพลงที่มีทำนองคล้ายคลึงกันอัตราจังหวะเดียวกันหน้าทับอย่างเดียวกันเอามาร้อยกรองกันเข้าบรรเลงติดต่อกันไปใช้บรรเลงเมื่อต้องการระยะเวลายาวนานเช่นบรรเลงหลังโหมโรงเย็นเพื่อรอพระที่จะมาสวดมนต์เย็นเพลงหางเครื่องเพลงหางเครื่อง หมายถึงเป็นเพลงที่บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่หรือเพลงแม่บทคือเพลงสามชั้นหรือเพลงเถาที่นำมาบรรเลงก่อนเพลงหางเครื่องที่นำมาบรรเลงนั้นต้องคำนึงถึงสำเนียงภาษาและอารมณ์ของเพลงนั้นด้วยเช่นถ้าบรรเลงเพลงแม่บทด้วยเพลงเขมรพวงเถาแล้วจะต้องออกหางเครื่องด้วยเพลงชุดเขมรตามไปด้วยเป็นต้นโดยปกติเพลงหางเครื่องจะจัดไว้เป็นชุด ๆ ตามสำเนียงภาษาของเพลงเพลงออกภาษา หมายถึงการนำเอาเพลงที่มีสำเนียงภาษาหลาย ๆ ภาษามาบรรเลงรวมกันเป็นชุดและบรรเลงหลังจากบรรเลงเพลงใหญ่จบแล้วเพลงออกภาษามีลักษณะสนุกสนานเร้าใจแล้วยังเป็นการแสดงความสามารถของนักดนตรีอีกด้วยก่อนจะออกภาษาใดก็ตามจะต้องเริ่มบรรเลงด้วย 4 ภาษาก่อนคือจีนเขมรตลุงและพม่ากลองที่นำมาใช้ในการบรรเลงประกอบบทเพลงสามารถที่จะใช้สื่อความหมายของสำเนียงภาษาต่าง ๆ ได้เช่นกลองแขกใช้ออกภาษาแขกกลองเมริกันใช้ออกภาษาฝรั่งเป็นต้นเพลงเดี่ยว หมายถึงเป็นเพลงที่สร้างขึ้นสำหรับเครื่องดนตรีเพียงชิ้นเดียวบรรเลงเพื่อเป็นการอวดฝีมือและความสามารถของนักดนตรีเพลงที่นิยมนำมาเดี่ยวมีมากมายเช่นเพลงกราวในเพลงสารถีเพลงพญาโศกเพลงลาวแพนเพลงอาหนูเพลงจีนขิมใหญ่เป็นต้นเพลงหน้าพาทย์เพลงหน้าพาทย์หมายถึงเพลงที่ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอาการอารมณ์ของตัวละครเพลงหน้าพาทย์เป็นเพลงที่มีทำนองและจังหวะกำหนดเป็นแบบแผนรวมทั้งกำหนดโอกาสใช้ไว้อย่างแน่นอนโดยทั่วไปเพลงหน้าพาทย์จะไม่มีบทร้องใช้บรรเลงเป็นทำนองเท่านั้นที่บรรจุเนื้อร้องก็มีบ้างที่พบได้แก่เพลงตระนิมิตเพลงกราวนอกเป็นต้นเพลงหน้าพาทย์ส่วนมากจะมีท่ารำกำหนดไว้เฉพาะในแต่ละเพลงและเพลงหน้าพาทย์เพลงเดียวกันการใช้ท่ารำของตัวละครไทยคือพระนางยักษ์ลิงก็ย่อมจะแตกต่างกันไปเพลงหน้าพาทย์แบ่งออกเป็นหน้าพาทย์ธรรมดาและหน้าพาทย์ชั้นสูง๑ . หน้าพาทย์ธรรมดาใช้บรรเลงประกอบกิริยาอารมณ์ของตัวละครที่เป็นสามัญชนเป็นเพลงหน้าพาทย์ไม่บังคับความยาวการจะหยุดลงจบหรือเปลี่ยนเพลงผู้บรรเลงจะต้องดูท่ารำของตัวละครเป็นหลักเพลงหน้าพาทย์ชนิดนี้โดยมากใช้กับการแสดงลิเกหรือละครเช่นเพลงเสมอเพลงเชิดเพลงรัวเพลงโอด๒ หน้าพาทย์ชั้นสูงเรียกอีกอย่างว่า "เพลงครู" ถือว่าเป็นเพลงที่ศักดิ์สิทธิ์ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอารมณ์ของตัวละครผู้สูงศักดิ์หรือเทพเจ้าต่าง ๆ เป็นเพลงหน้าพาทย์ประเภทบังคับความยาวผู้รำจะต้องยืดทำนองและจังหวะของเพลงเป็นหลักสำคัญจะตัดให้สั้นหรือเติมให้ยาวตามใจชอบไม่ได้โดยมากใช้กับการแสดงโขนละครและใช้ในพิธีไหว้ครูครอบครูดนตรีและนาฏศิลป์เช่นเพลงตระนอนเพลงกระบองกันเพลงตระบรรทมสินธุ์เพลงบาทสกุณีเพลงองค์พระพิราพโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพลงองค์พระพิราพถือกันว่าเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงสุดในบรรดาเพลงหน้าพาทย์ทั้งหลายเพลงหน้าพาทย์แบ่งตามหน้าที่การนำไปใช้ประกอบการแสดงของตัวละครแบ่งได้ ๗ ลักษณะคือ๑ . เพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาไปมาได้แก่เพลงเสมอใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะใกล้ไปช้า ๆ ไม่รีบร้อนเพลงเชิดใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะไกลไปมาอย่างรีบร้อนเพลงเสมอนอกจากเพลงเสมอธรรมดาแล้วยังมีเพลงเสมอตามลักษณะของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครอีกเช่นเสมอลาวเสมอมอญเสมอพม่าเสมอมารเสมอเถรเป็นต้นเสมอลาวเสมอมอญข้อสังเกตให้ดูจากเครื่องแต่งกายของผู้แสดงเพลงฉิ่งใช้ประกอบกิริยาอาการเคลื่อนไหวนวยนาดกรีดกรายเล่นสนุกสนานชมสวนชมป่าเก็บดอกไม้หรือเที่ยววนเวียนอยู่ในสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่งเพลงบาทสกุณีใช้ประกอบการเคลื่อนไหวไปมามีพิธีรีตรองใช้เฉพาะกับตัวละครตัวพระนางที่มีศักดิ์เพลงพระยาเดินใช้ประกอบกิริยาไปมาที่ไม่รีบร้อนสำหรับผู้สูงศักดิ์เป็นหมู่พร้อมด้วยข้าราชบริพารเพลงรุกร้นใช้ประกอบการแสดงไปอย่างมีระเบียบเพลงเสมอข้ามสมุทรใช้ประกอบการนำกองทัพเดินข้ามสมุทรเท่านั้นใช้เฉพาะตัวพระรามเพลงเหาะใช้ประกอบกิริยาไปมาทางอากาศของเทวดานางฟ้า (เป็นการอัญเชิญพระศวรในพิธีไหว้ครูโขน-ละคร) เพลงโคมเวียนใช้ประกอบกิริยาการเดินทางในอากาศของเทวดาและนางฟ้าเพลงกลมใช้ประกอบการไปมาของตัวละครที่สูงศักดิ์เช่นพระอินทร์เจ้าเงาะในเรื่องสังข์ทอง (ในพิธีไหว้ครูดขนละครเป็นการอัญเชิญพระวิษณุกรรม) เพลงแผละใช้ประกอบกิริยาการไปมาของสัตว์มีปีกที่บินทางอากาศเช่นนกครุฑเป็นต้นเพลงชุบใช้ประกอบกิริยาไปมาของตัวละครศักดิ์ต่ำเช่นนางกำนัลเพลงโล้ใช้ประกอบกิริยาไปมาทางนำ๒ เพลงหน้าพาทย์ประกอบการยกพลยกทัพได้แก่เพลงกราวนอกสำหรับการยกทัพของมนุษย์ลิงเพลงกราวในสำหรับการยกทัพของยักษ์เพลงกราวกลางสำหรับการยกทัพของมนุษย์๓.เพลงหน้าพาทย์ประกอบความสนุกสนานร่าเริงได้แก่เพลงกราวรำสำหรับกิริยาเยาะเย้ยเพลงสีนวลสำหรับแสดงความร่างเริงเบิกบานใจสำหรับสตรีเพลงช้าเพลงเร็วสำหรับแสดงความเบิกบานใ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เพลงบรรเลง
หมายถึง เพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไม่มีเนื้อร้อง มีจุดมุ่งหมายที่จะใช้ในการบรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในวงนั้นๆ โดยบรรเลงทำนองเพลงสอดสลับกันไป เพื่อทำให้เกิดท่วงทำนองทีไพเราะตามลักษณะของเพลงที่นำมาบรรเลง เพลงที่จัดอยู่ในประเภทเพลงบรรเลงมีอยู่หลายชนิด ดังนี้
เพลงโหมโรง เพลงโหมโรง
หมายถึง เพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลงแรก เป็นการประโคมดนตรีเบิกโรงก่อนที่จะมีการแสดงเพลงอื่นๆ วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประกาศให้ชาวบ้านได้ทราบว่า สถานที่นั้นจะมีงานหรือกิจกรรมอะไร โดยใช้เสียงเพลงเป็นสื่อในพิธีกรรมบางพิธีจะใช้เพลงโหมโรงเพื่ออัญเชิญเทพยดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้มาร่วมในพิธี เพื่อความเป็นสิริมงคล
โหมโรงปี่พาทย์
เพลงเรื่อง
หมายถึง เป็นที่ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงล้วนๆ นิยมบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ มากกว่าบรรเลงด้วยวงเครื่องสายและวงมโหรี เป็นเพลงชุด ซึ่งประกอบด้วยเพลงหลายๆ เพลง ที่มีทำนองคล้ายคลึงกัน อัตราจังหวะเดียวกัน หน้าทับอย่างเดียวกัน เอามาร้อยกรองกัน เข้าบรรเลงติดต่อกันไป ใช้บรรเลงเมื่อต้องการระยะเวลายาวนาน เช่น บรรเลงหลังโหมโรงเย็น เพื่อรอพระที่จะมาสวดมนต์เย็น
เพลงหางเครื่อง
เพลงหางเครื่อง
หมายถึง เป็นเพลงที่บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่หรือเพลงแม่บท คือเพลงสามชั้นหรือเพลงเถาที่นำมาบรรเลงก่อน เพลงหางเครื่องที่นำมาบรรเลงนั้นต้องคำนึงถึงสำเนียงภาษาและอารมณ์ของเพลงนั้นด้วย เช่น ถ้าบรรเลงเพลงแม่บทด้วยเพลงเขมรพวงเถาแล้วจะต้องออกหางเครื่องด้วยเพลงชุดเขมรตามไปด้วย เป็นต้น โดยปกติเพลงหางเครื่องจะจัดไว้เป็นชุดๆ ตามสำเนียงภาษาของเพลง เพลงออกภาษา
หมายถึง การนำเอาเพลงที่มีสำเนียงภาษาหลายๆ ภาษา มาบรรเลงรวมกันเป็นชุด และบรรเลงหลังจากบรรเลงเพลงใหญ่จบแล้ว เพลงออกภาษามีลักษณะสนุกสนานเร้าใจ แล้วยังเป็นการแสดงความสามารถของนักดนตรีอีกด้วย ก่อนจะออกภาษาใดก็ตามจะต้องเริ่มบรรเลงด้วย 4 ภาษา ก่อน คือ จีน เขมร ตลุง และพม่า กลองที่นำมาใช้ในการบรรเลงประกอบบทเพลงสามารถที่จะใช้สื่อความหมายของสำเนียงภาษาต่างๆ ได้ เช่น กลองแขก ใช้ออกภาษาแขก กลองเมริกัน ใช้ออกภาษาฝรั่ง เป็นต้น
เพลงเดี่ยว
หมายถึง เป็นเพลงที่สร้างขึ้นสำหรับเครื่องดนตรีเพียงชิ้นเดียว บรรเลงเพื่อเป็นการอวดฝีมือและความสามารถของนักดนตรี เพลงที่นิยมนำมาเดี่ยวมีมากมาย เช่น เพลงกราวใน เพลงสารถี เพลงพญาโศก เพลงลาวแพน เพลงอาหนู เพลงจีนขิมใหญ่ เป็นต้น
เพลงหน้าพาทย์
เพลงหน้าพาทย์ หมายถึง เพลงที่ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอาการ อารมณ์ของตัวละคร เพลงหน้าพาทย์เป็นเพลงที่มีทำนอง และจังหวะกำหนดเป็นแบบแผน รวมทั้งกำหนดโอกาสใช้ไว้อย่างแน่นอน โดยทั่วไปเพลงหน้าพาทย์จะไม่มีบทร้อง ใช้บรรเลงเป็นทำนองเท่านั้น ที่บรรจุเนื้อร้องก็มีบ้าง ที่พบได้แก่ เพลงตระนิมิต เพลงกราวนอก เป็นต้น เพลงหน้าพาทย์ส่วนมากจะมีท่ารำกำหนดไว้เฉพาะในแต่ละเพลง และเพลงหน้าพาทย์เพลงเดียวกัน การใช้ท่ารำของตัวละครไทยคือ พระ นาง ยักษ์ ลิง ก็ ย่อมจะแตกต่างกันไป

เพลงหน้าพาทย์แบ่งออกเป็น หน้าพาทย์ธรรมดา และหน้าพาทย์ชั้นสูง
๑. หน้าพาทย์ธรรมดา ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอารมณ์ของตัวละครที่เป็นสามัญชน เป็นเพลงหน้าพาทย์ไม่บังคับความยาว การจะหยุด ลงจบ หรือเปลี่ยนเพลง ผู้บรรเลงจะต้องดูท่ารำของตัวละครเป็นหลัก เพลงหน้าพาทย์ชนิดนี้โดยมากใช้กับการแสดงลิเกหรือละคร เช่น เพลงเสมอ เพลงเชิด เพลงรัว เพลงโอด
๒. หน้าพาทย์ชั้นสูงเรียกอีกอย่างว่า "เพลงครู" ถือว่าเป็นเพลงที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้บรรเลงประกอบกิริยา อารมณ์ของตัวละครผู้สูงศักดิ์หรือเทพเจ้าต่างๆ เป็นเพลงหน้าพาทย์ประเภทบังคับความยาว ผู้รำจะต้องยืดทำนองและจังหวะของเพลงเป็นหลักสำคัญ จะตัดให้สั้นหรือเติมให้ยาวตามใจชอบไม่ได้ โดยมากใช้กับการแสดงโขน ละคร และใช้ในพิธีไหว้ครู ครอบครูดนตรีและนาฏศิลป์ เช่น เพลงตระนอน เพลงกระบองกัน เพลงตระบรรทมสินธุ์ เพลงบาทสกุณี เพลงองค์พระพิราพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพลงองค์พระพิราพ ถือกันว่าเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงสุดในบรรดาเพลงหน้าพาทย์ทั้งหลาย

เพลงหน้าพาทย์แบ่งตามหน้าที่การนำไปใช้ประกอบการแสดงของตัวละครแบ่งได้ ๗ ลักษณะ คือ
๑. เพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาไปมา ได้แก่ เพลงเสมอใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไม่ รีบร้อน เพลงเชิดใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะไกลไปมาอย่างรีบร้อน เพลงเสมอนอกจากเพลงเสมอธรรมดาแล้ว ยังมีเพลงเสมอตามลักษณะของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครอีก เช่น เสมอลาว เสมอมอญ เสมอพม่า เสมอมาร เสมอเถร เป็นต้น เสมอลาว เสมอมอญ ข้อสังเกตให้ดูจากเครื่องแต่งกายของผู้แสดง เพลงฉิ่งใช้ประกอบกิริยาอาการเคลื่อนไหว นวยนาดกรีดกราย เล่นสนุกสนาน ชมสวน ชมป่า เก็บดอกไม้หรือเที่ยววนเวียนอยู่ในสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เพลงบาทสกุณีใช้ประกอบการเคลื่อนไหวไปมามีพิธีรีตรอง ใช้เฉพาะกับตัวละครตัวพระ-นาง ที่มีศักดิ์ เพลงพระยาเดินใช้ประกอบกิริยาไปมาที่ไม่รีบร้อน สำหรับผู้สูงศักดิ์เป็นหมู่พร้อมด้วยข้าราชบริพาร เพลงรุกร้นใช้ประกอบการแสดงไปอย่างมีระเบียบ เพลงเสมอข้ามสมุทร ใช้ประกอบการนำกองทัพเดินข้ามสมุทรเท่านั้น ใช้เฉพาะตัวพระราม เพลงเหาะใช้ประกอบกิริยาไปมาทางอากาศของเทวดา นางฟ้า (ในพิธีไหว้ครูโขน-ละคร เป็นการอัญเชิญพระศวร) เพลงโคมเวียนใช้ประกอบกิริยาการเดินทางในอากาศของเทวดาและนางฟ้า
เพลงกลมใช้ประกอบการไป มาของตัวละครที่สูงศักดิ์ เช่น พระอินทร์ เจ้าเงาะ ในเรื่อง สังข์ทอง (ในพิธีไหว้ครูดขน-ละคร เป็นการอัญเชิญพระวิษณุกรรม) เพลงแผละใช้ประกอบกิริยาการไปมาของสัตว์มีปีกที่บินทางอากาศ เช่น นก ครุฑ เป็นต้น เพลงชุบใช้ประกอบกิริยาไปมาของตัวละครศักดิ์ต่ำ เช่น นางกำนัล เพลงโล้ใช้ประกอบกิริยาไปมาทางนำ
๒. เพลงหน้าพาทย์ประกอบการยกพล ยกทัพได้แก่ เพลงกราวนอกสำหรับการยกทัพของมนุษย์ ลิง เพลงกราวใน สำหรับการยกทัพของยักษ์ เพลงกราวกลางสำหรับการยกทัพของมนุษย์
๓.เพลงหน้าพาทย์ประกอบความสนุกสนานร่าเริงได้แก่ เพลงกราวรำสำหรับกิริยาเยาะเย้ย
เพลงสีนวล สำหรับแสดงความร่างเริงเบิกบานใจสำหรับสตรี เพลงช้า เพลงเร็ว สำหรับแสดงความเบิกบานใ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เพลงบรรเลง
หมายถึงเพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไม่มีเนื้อร้องมีจุดมุ่งหมายที่จะใช้ในการบรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในวงนั้นๆโดยบรรเลงทำนองเพลงสอดสลับกันไปเพลงที่จัดอยู่ในประเภทเพลงบรรเลงมีอยู่หลายชนิดดังนี้
เพลงโหมโรงเพลงโหมโรง
หมายถึงเพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลงแรกเป็นการประโคมดนตรีเบิกโรงก่อนที่จะมีการแสดงเพลงอื่นๆวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประกาศให้ชาวบ้านได้ทราบว่าสถานที่นั้นจะมีงานหรือกิจกรรมอะไรและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้มาร่วมในพิธีเพื่อความเป็นสิริมงคล
โหมโรงปี่พาทย์

เพลงเรื่องหมายถึงเป็นที่ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงล้วนๆนิยมบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์มากกว่าบรรเลงด้วยวงเครื่องสายและวงมโหรีเป็นเพลงชุดซึ่งประกอบด้วยเพลงหลายๆเพลงที่มีทำนองคล้ายคลึงกันอัตราจังหวะเดียวกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: