The problem of abuse in Myanmar to global social problems. The seized land. Myanmar's military Government into a placeholder that do eat villagers. To bring the land to plant beans for research. Without paying compensation given to people, but sometimes, if there is any way or paying a minimal amount of it, compared to the area of land that is. Forced labor. ชาวบ้านไทยใหญ่ถูกทหารพม่าบังคับใช้แรงงานจนไม่มีเวลาทำงานให้กับครอบครัวตนเอง ถูกบังคับให้ตัดไม้และไม้ไผ่และขนไม้เหล่านี้ไปยังที่ค่ายทหารพม่า ถูกบังคับให้สร้างคอกสัตว์ และทำความสะอาดสวนของกองทหารพม่า นอกจากนั้นกองทหารพม่ายังได้บีบเอาเงินจากชาวบ้าน โดยการบังคับราคา โก่งราคาสินค้าและยังบังคับให้ชาวบ้านซื้อสินค้าจากพวกเขา การข่มขืน องค์กรด้านสิทธิสตรีภาคประชาชนในรัฐชิน ประเทศพม่า ได้เปิดเผยรายงานที่มีชื่อว่า “รัฐที่ไม่ปลอดภัย” (Unsafe State) ซึ่งแสดงหลักฐานว่ารัฐบาลทหารพม่าสนับสนุนการข่มขืน การบังคับให้โยกย้ายออกจากถิ่นฐานเดิม ทหารพม่าจะใช้วิธีการโจมตีและเผาบ้านเรือนของชาวบ้านในพื้นที่ อย่างไรก็ตาม ในอดีตอาเซียนไม่ได้แสดงบทบาทชัดเจนในการเรียกร้องให้รัฐบาลพม่าแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน เพราะอาเซียนมีหลักสำคัญที่เรียกว่า วิถีอาเซียน คือ การไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน แต่ในระยะหลังสังคมโลกและสหประชาชาติได้ให้ความสำคัญกับประเด็นสิทธิมนุษยชนมากขึ้น อาเซียนจึงถูกกดดันมากขึ้น ให้แสดงบทบาทต่อปัญหาสิทธิมนุษยชนในพม่า อาเซียนจึงได้ออกแถลงการณ์ตำหนิการละเมิดสิทธิมนุษยชนเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดำเนินการอย่างใดกับพม่าได้ จากการกระทำที่ไม่เคารพสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลพม่าส่งผลให้ชนกลุ่มน้อยชาวพม่าอยู่ท่ามกลางการจับตามองขององค์กรสิทธิมนุษยชนจากประเทศต่างๆ ควรส่งเสริมสิทธิพื้นฐานในระบอบประชาธิปไตย คือ สิทธิในการแสดงความคิดเห็น สิทธิทางการเมือง เพราะในประเทศที่ระบอบประชาธิปไตยเข้มแข็ง ประชาชนมีความเข้าใจหลักประชาธิปไตยพลเมืองย่อมมีสำนึกของการเคารพสิทธิมนุษย์ชน แต่หากประชาชนไม่เข้าใจหลักการประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ประชาชนของประเทศนั้นก็จะรักษาเฉพาะสิทธิของตนเอง แต่ไม่เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น และไม่เกิดสำนึกว่าสิทธิย่อมมาพร้อมกับหน้าที่ที่มีต่อบ้านเมืองและสังคม
การแปล กรุณารอสักครู่..