ญาณทัศนะของพุทธะแบบเซน

ญาณทัศนะของพุทธะแบบเซน " ตอนที่ 2 ก

ญาณทัศนะของพุทธะแบบเซน " ตอนที่ 2

กล่าวสำหรับการพลิกจิตสู่พุทธภาวะ หรือสู่การตรัสรู้นั้น เป็นวิถีแห่ง “ปัญญาวิมุติ” ที่แปลว่าหลุดพ้นด้วยอำนาจปัญญา อันเป็นหลักธรรมสำคัญของนิกายเซน ที่เน้นการปฏิบัติทางสติปัญญาเป็นสำคัญ ส่วนการทำสมาธิและการรักษาศีลนั้น นิกายเซนมิได้ให้ความสำคัญ เพราะเห็นว่าเมื่อมีสติปัญญา หรือปรีชาญาณรู้แจ้งว่า ขันธ์ ๕ คือร่างกายและจิตใจ ล้วนเป็นของว่างเปล่าและเป็นสิ่งมายามาแต่ต้น

ดังนั้นนิกายเซนถือว่าการเขย่าธาตุรู้ที่มิอยู่ในตัวตน ที่ปราศจากตัวตน ให้ผุดขึ้นมาเห็นแจ้งว่าพุทธภาวะนั้นมีอยู่อย่างพร้อมมูลแล้วในสรรพสัตว์ ซึ่งสิ่งสว่างแจ่มจ้าในตัวเองนี้ไม่ต้องไขว่คว้า หรือใช้เงินซื้อหาแต่ประการใด อีกทั้งยังไม่ขึ้นอยู่กับคำพูด และไม่ขึ้นอยู่กับพระไตรปิฎก เป็นการเผยแพร่พระธรรมคำสอนด้วยวิธี ที่เรียกว่า “จากใจหนึ่ง สู่ใจหนึ่ง” เท่านั้น

กระทั่ง บังเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และเกิดความรู้แจ้งอย่างฉับพลันในสภาวะธรรมตามเป็นจริง ซึ่งเป็นสภาวะที่ทุกคนรู้ได้เฉพาะตน โดยไม่ต้องใช้ความคิดปรุงแต่ง คาดคะเนหรือไตร่ตรอง ที่ภาษาจิตวิทยาสมัยใหม่เรียกว่า “จิตไร้สำนึก” ซึ่งตรงกันข้ามกับ “จิตสำนึก” และ “จิตใต้สำนึก”

ดังอุปมาที่ว่า “ความแจ่มจ้าของดวงจิต จะลุกโพลงสว่างขึ้นต่อปัญหาชีวิตทั้งปวง บรรดาอารมณ์ หรือความคิดปรุงแต่ง ทั้งหยาบและละเอียด ทั้งดีและชั่ว ทั้งสุขและทุกข์ ก็จะสงบลง จิตก็จะว่างเปล่าปราศจากความคิดปรุงแต่ง และเมื่อสามารถค้นพบ หรือสามารถเห็นแจ้งพุทธภาวะ ในขันธ์ ๕ (สมมติ) แล้ว ก็หมายความว่าการตรัสรู้หรือการบรรลุนิพพาน ก็ปรากฏเบื้องหน้าอย่างฉับพลัน”

อย่างไรก็ตามทั้งหลายทั้งปวงที่กล่าวมานี้ ล้วนเป็นคำบอกเล่าที่ใช้ภาษา หรือตัวหนังสืออธิบาย ซึ่งยากที่จะให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างทะลุปรุโปร่ง และนำคำบอกเล่านี้ไปปฏิบัติให้บังเกิดผล นั่นเป็นเพราะไม่มีวิธีอื่นใดที่จะนำไปสู่การตรัสรู้ หรือการบรรลุธรรมสู่ความหลุดพ้นจากตัวตน มีประการเดียวคือ ต้องอาศัยการรู้แจ้งด้วยตนเอง ที่เรียกกันว่า “ปัจจัตตัง” จึงจะรู้ได้

ประดุจดั่งคนดื่มน้ำ รสชาติเป็นเช่นไร ร้อนหรือเย็นย่อมรู้ได้เอง เมื่อผู้นั้นรู้รสแห่งการตรัสรู้แล้ว เขาผู้นั้นจะไม่สามารถที่จะเขียน หรือพูดถึงรสชาติแห่งพุทธภาวะว่าเป็นเช่นไร เช่นเดียวกับมิอาจบอกได้ว่าน้ำที่ดื่มมีรสชาติเช่นไร ผู้ใดต้องการรู้รสต้องดื่มน้ำนั้นเอง เช่นเดียวกับการตรัสรู้หรือการบรรลุพุทธภาวะ ก็มิอาจอธิบายให้คนอื่นรู้ว่าเขาได้บรรลุอะไร และผลของการบรรลุเป็นเช่นไร

ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวว่า เป็นภาวะที่พ้นจากคำพูด เฉพาะอย่างยิ่งต้องตัดขาดซึ่งความรู้สึกนึกคิดไตร่ตรอง

สรุปว่า พุทธศาสนานิกายเซนไม่นิยมสอนหรืออธิบาย หรือแนะนำให้ปฏิบัติด้วยคำพูดและตัวหนังสือ เนื่องเพราะทั้งตัวหนังสือและคำพูดมิอาจที่จะอธิบายภาวะแห่งพุทธะ หรืออธิบายสัจจะภาวะหรือความเป็นจริงทางปรมัตถ์ กระทำได้แต่เพียงอุปมาอุปไมยหรือเปรียบเทียบ

แต่วิธีที่ดีที่สุดและได้ผลที่สุดในการอบรมสั่งสอน ที่เรียกว่าการถ่ายทอดธรรมจากคนหนึ่งสู่คนหนึ่ง หรือจากจิตสู่จิตนั้น มิอาจหลีกเลี่ยงการหยุดคำพูด หยุดอธิบาย หยุดคำสอนอย่างสิ้นเชิง ตามหลักธรรมที่ว่า “ของจริงนิ่งจริงเป็นใบ้ ที่พูดได้นั้นไม่จริง”

พุทธศาสนานิกายเซนมีหลักธรรมคำสอน หรือพระสูตร หรือคัมภีร์ ที่สำคัญเพียงสั้นๆ หรือมีพระสูตรเพียง ๒-๓ พระสูตร เช่น ปรัชญาปารมิตาหฤทยสูตร วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร เป็นต้น

ซึ่งพระสูตรดังกล่าวนี้ล้วนกล่าวถึงสรรพสิ่ง ว่าเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า โดยเฉพาะร่างกายและจิตใจมีคุณสมบัติว่างเปล่าโดยพื้นฐาน

กล่าวสำหรับวิถีปฏิบัติแนวเซนนั้น มิอาจจะระบุหรือกำหนดกฎเกณฑ์ว่า ต้องปฏิบัติอย่างไร แบบใด เนื่องเพราะพุทธศาสนานิกายเซนแตกต่างจากเถรวาทดังกล่าวแล้วว่า นิกายเซนไม่ยอมรับการมีตัวตน มีแต่ความว่างเปล่าเท่านั้น จึงไม่มีผู้รับผลของกรรมหรือผลของการกระทำใดๆ การปฏิบัติใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการนั่งสมาธิเพื่อให้จิตสงบ หรือการเดินจงกรม หรือดูจิตดูใจของตนเอง หรือดูอาการเคลื่อนไหวของกายในทุกอิริยบท จึงไม่บังเกิดผลใดๆ ทั้งสิ้น ผู้ปฏิบัติจึงไม่อาจจะสำเร็จหรือบรรลุธรรมะใดๆ เฉพาะอย่างยิ่งมิอาจจะก้าวพ้นทุกข์ได้ ด้วยการปฏิบัติด้วยมรรควิธีใดๆ ทั้งสิ้น

เหนืออื่นใดเซนเห็นว่า ที่ไม่ต้องปฏิบัติธรรมนั้น เนื่องเพราะสรรพสัตว์ล้วนมีพุทธภาวะ หรือธรรมะอยู่พร้อมมูลแล้ว เพียงแต่บอกหรือแนะนำให้มนุษย์ทุกคนเข้าใจและยอมรับว่า พุทธภาวะหรือพุทธะหรือธรรมะนั้น คนทุกคนหรือมนุษย์ทุกเชื้อชาติทุกชนชั้น ล้วนแต่มีอยู่เป็นอยู่เสมอกัน

ที่สำคัญยิ่งก็คือมนุษย์ทุกคนล้วนปฏิบัติตนแนวเซน หรือแบบเดียวกับเซนอยู่แล้ว ไม่ต้องปฏิบัติธรรมด้วยวิธีหนึ่งใดอีก นั่นเป็นเพราะเพียงแต่มองเห็นหรือรู้แจ้งแทงตลอดว่า สรรพสิ่งประกอบขึ้นด้วยความว่างเปล่า มิได้มีสิ่งใดดำรงอยู่เลย ซึ่งความว่างเปล่าหรือความไม่มีไม่เป็น นี่แหละคือ “พุทธภาวะ” หรือ “พุทธะ” หรือ “ธรรมะ” ที่ชาวพุทธทุกคน ปรารถนาจะมี จะเป็น หรือมุ่งแสวงหา

อ.นิโรธ จิตวิสุทธิ์
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ญาณทัศนะของพุทธะแบบเซน " ตอนที่ 2 กล่าวสำหรับการพลิกจิตสู่พุทธภาวะ หรือสู่การตรัสรู้นั้น เป็นวิถีแห่ง “ปัญญาวิมุติ” ที่แปลว่าหลุดพ้นด้วยอำนาจปัญญา อันเป็นหลักธรรมสำคัญของนิกายเซน ที่เน้นการปฏิบัติทางสติปัญญาเป็นสำคัญ ส่วนการทำสมาธิและการรักษาศีลนั้น นิกายเซนมิได้ให้ความสำคัญ เพราะเห็นว่าเมื่อมีสติปัญญา หรือปรีชาญาณรู้แจ้งว่า ขันธ์ ๕ คือร่างกายและจิตใจ ล้วนเป็นของว่างเปล่าและเป็นสิ่งมายามาแต่ต้น ดังนั้นนิกายเซนถือว่าการเขย่าธาตุรู้ที่มิอยู่ในตัวตน ที่ปราศจากตัวตน ให้ผุดขึ้นมาเห็นแจ้งว่าพุทธภาวะนั้นมีอยู่อย่างพร้อมมูลแล้วในสรรพสัตว์ ซึ่งสิ่งสว่างแจ่มจ้าในตัวเองนี้ไม่ต้องไขว่คว้า หรือใช้เงินซื้อหาแต่ประการใด อีกทั้งยังไม่ขึ้นอยู่กับคำพูด และไม่ขึ้นอยู่กับพระไตรปิฎก เป็นการเผยแพร่พระธรรมคำสอนด้วยวิธี ที่เรียกว่า “จากใจหนึ่ง สู่ใจหนึ่ง” เท่านั้น As far as being clearly understanding and knowledge inform everyday sudden enlightenment according to true, which is the State that everybody knows is chaphoton without the use of additive ideas. Predictions, or thinking that the language of modern psychology, called "spiritual realization" Wi-Fi, which contrary to the "spirit" and "South" in the sense of affection. ดังอุปมาที่ว่า “ความแจ่มจ้าของดวงจิต จะลุกโพลงสว่างขึ้นต่อปัญหาชีวิตทั้งปวง บรรดาอารมณ์ หรือความคิดปรุงแต่ง ทั้งหยาบและละเอียด ทั้งดีและชั่ว ทั้งสุขและทุกข์ ก็จะสงบลง จิตก็จะว่างเปล่าปราศจากความคิดปรุงแต่ง และเมื่อสามารถค้นพบ หรือสามารถเห็นแจ้งพุทธภาวะ ในขันธ์ ๕ (สมมติ) แล้ว ก็หมายความว่าการตรัสรู้หรือการบรรลุนิพพาน ก็ปรากฏเบื้องหน้าอย่างฉับพลัน” อย่างไรก็ตามทั้งหลายทั้งปวงที่กล่าวมานี้ ล้วนเป็นคำบอกเล่าที่ใช้ภาษา หรือตัวหนังสืออธิบาย ซึ่งยากที่จะให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างทะลุปรุโปร่ง และนำคำบอกเล่านี้ไปปฏิบัติให้บังเกิดผล นั่นเป็นเพราะไม่มีวิธีอื่นใดที่จะนำไปสู่การตรัสรู้ หรือการบรรลุธรรมสู่ความหลุดพ้นจากตัวตน มีประการเดียวคือ ต้องอาศัยการรู้แจ้งด้วยตนเอง ที่เรียกกันว่า “ปัจจัตตัง” จึงจะรู้ได้ ประดุจดั่งคนดื่มน้ำ รสชาติเป็นเช่นไร ร้อนหรือเย็นย่อมรู้ได้เอง เมื่อผู้นั้นรู้รสแห่งการตรัสรู้แล้ว เขาผู้นั้นจะไม่สามารถที่จะเขียน หรือพูดถึงรสชาติแห่งพุทธภาวะว่าเป็นเช่นไร เช่นเดียวกับมิอาจบอกได้ว่าน้ำที่ดื่มมีรสชาติเช่นไร ผู้ใดต้องการรู้รสต้องดื่มน้ำนั้นเอง เช่นเดียวกับการตรัสรู้หรือการบรรลุพุทธภาวะ ก็มิอาจอธิบายให้คนอื่นรู้ว่าเขาได้บรรลุอะไร และผลของการบรรลุเป็นเช่นไร ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวว่า เป็นภาวะที่พ้นจากคำพูด เฉพาะอย่างยิ่งต้องตัดขาดซึ่งความรู้สึกนึกคิดไตร่ตรอง สรุปว่า พุทธศาสนานิกายเซนไม่นิยมสอนหรืออธิบาย หรือแนะนำให้ปฏิบัติด้วยคำพูดและตัวหนังสือ เนื่องเพราะทั้งตัวหนังสือและคำพูดมิอาจที่จะอธิบายภาวะแห่งพุทธะ หรืออธิบายสัจจะภาวะหรือความเป็นจริงทางปรมัตถ์ กระทำได้แต่เพียงอุปมาอุปไมยหรือเปรียบเทียบ แต่วิธีที่ดีที่สุดและได้ผลที่สุดในการอบรมสั่งสอน ที่เรียกว่าการถ่ายทอดธรรมจากคนหนึ่งสู่คนหนึ่ง หรือจากจิตสู่จิตนั้น มิอาจหลีกเลี่ยงการหยุดคำพูด หยุดอธิบาย หยุดคำสอนอย่างสิ้นเชิง ตามหลักธรรมที่ว่า “ของจริงนิ่งจริงเป็นใบ้ ที่พูดได้นั้นไม่จริง” พุทธศาสนานิกายเซนมีหลักธรรมคำสอน หรือพระสูตร หรือคัมภีร์ ที่สำคัญเพียงสั้นๆ หรือมีพระสูตรเพียง ๒-๓ พระสูตร เช่น ปรัชญาปารมิตาหฤทยสูตร วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร เป็นต้น ซึ่งพระสูตรดังกล่าวนี้ล้วนกล่าวถึงสรรพสิ่ง ว่าเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า โดยเฉพาะร่างกายและจิตใจมีคุณสมบัติว่างเปล่าโดยพื้นฐาน กล่าวสำหรับวิถีปฏิบัติแนวเซนนั้น มิอาจจะระบุหรือกำหนดกฎเกณฑ์ว่า ต้องปฏิบัติอย่างไร แบบใด เนื่องเพราะพุทธศาสนานิกายเซนแตกต่างจากเถรวาทดังกล่าวแล้วว่า นิกายเซนไม่ยอมรับการมีตัวตน มีแต่ความว่างเปล่าเท่านั้น จึงไม่มีผู้รับผลของกรรมหรือผลของการกระทำใดๆ การปฏิบัติใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการนั่งสมาธิเพื่อให้จิตสงบ หรือการเดินจงกรม หรือดูจิตดูใจของตนเอง หรือดูอาการเคลื่อนไหวของกายในทุกอิริยบท จึงไม่บังเกิดผลใดๆ ทั้งสิ้น ผู้ปฏิบัติจึงไม่อาจจะสำเร็จหรือบรรลุธรรมะใดๆ เฉพาะอย่างยิ่งมิอาจจะก้าวพ้นทุกข์ได้ ด้วยการปฏิบัติด้วยมรรควิธีใดๆ ทั้งสิ้น เหนืออื่นใดเซนเห็นว่า ที่ไม่ต้องปฏิบัติธรรมนั้น เนื่องเพราะสรรพสัตว์ล้วนมีพุทธภาวะ หรือธรรมะอยู่พร้อมมูลแล้ว เพียงแต่บอกหรือแนะนำให้มนุษย์ทุกคนเข้าใจและยอมรับว่า พุทธภาวะหรือพุทธะหรือธรรมะนั้น คนทุกคนหรือมนุษย์ทุกเชื้อชาติทุกชนชั้น ล้วนแต่มีอยู่เป็นอยู่เสมอกัน ที่สำคัญยิ่งก็คือมนุษย์ทุกคนล้วนปฏิบัติตนแนวเซน หรือแบบเดียวกับเซนอยู่แล้ว ไม่ต้องปฏิบัติธรรมด้วยวิธีหนึ่งใดอีก นั่นเป็นเพราะเพียงแต่มองเห็นหรือรู้แจ้งแทงตลอดว่า สรรพสิ่งประกอบขึ้นด้วยความว่างเปล่า มิได้มีสิ่งใดดำรงอยู่เลย ซึ่งความว่างเปล่าหรือความไม่มีไม่เป็น นี่แหละคือ “พุทธภาวะ” หรือ “พุทธะ” หรือ “ธรรมะ” ที่ชาวพุทธทุกคน ปรารถนาจะมี จะเป็น หรือมุ่งแสวงหา
อ.นิโรธ จิตวิสุทธิ์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ญาณทัศนะของพุทธะแบบเซน " ตอนที่ 2

กล่าวสำหรับการพลิกจิตสู่พุทธภาวะ หรือสู่การตรัสรู้นั้น เป็นวิถีแห่ง “ปัญญาวิมุติ” ที่แปลว่าหลุดพ้นด้วยอำนาจปัญญา อันเป็นหลักธรรมสำคัญของนิกายเซน ที่เน้นการปฏิบัติทางสติปัญญาเป็นสำคัญ ส่วนการทำสมาธิและการรักษาศีลนั้น นิกายเซนมิได้ให้ความสำคัญ เพราะเห็นว่าเมื่อมีสติปัญญา หรือปรีชาญาณรู้แจ้งว่า ขันธ์ ๕ คือร่างกายและจิตใจ ล้วนเป็นของว่างเปล่าและเป็นสิ่งมายามาแต่ต้น

ดังนั้นนิกายเซนถือว่าการเขย่าธาตุรู้ที่มิอยู่ในตัวตน ที่ปราศจากตัวตน ให้ผุดขึ้นมาเห็นแจ้งว่าพุทธภาวะนั้นมีอยู่อย่างพร้อมมูลแล้วในสรรพสัตว์ ซึ่งสิ่งสว่างแจ่มจ้าในตัวเองนี้ไม่ต้องไขว่คว้า หรือใช้เงินซื้อหาแต่ประการใด อีกทั้งยังไม่ขึ้นอยู่กับคำพูด และไม่ขึ้นอยู่กับพระไตรปิฎก เป็นการเผยแพร่พระธรรมคำสอนด้วยวิธี ที่เรียกว่า “จากใจหนึ่ง สู่ใจหนึ่ง” เท่านั้น

กระทั่ง บังเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และเกิดความรู้แจ้งอย่างฉับพลันในสภาวะธรรมตามเป็นจริง ซึ่งเป็นสภาวะที่ทุกคนรู้ได้เฉพาะตน โดยไม่ต้องใช้ความคิดปรุงแต่ง คาดคะเนหรือไตร่ตรอง ที่ภาษาจิตวิทยาสมัยใหม่เรียกว่า “จิตไร้สำนึก” ซึ่งตรงกันข้ามกับ “จิตสำนึก” และ “จิตใต้สำนึก”

ดังอุปมาที่ว่า “ความแจ่มจ้าของดวงจิต จะลุกโพลงสว่างขึ้นต่อปัญหาชีวิตทั้งปวง บรรดาอารมณ์ หรือความคิดปรุงแต่ง ทั้งหยาบและละเอียด ทั้งดีและชั่ว ทั้งสุขและทุกข์ ก็จะสงบลง จิตก็จะว่างเปล่าปราศจากความคิดปรุงแต่ง และเมื่อสามารถค้นพบ หรือสามารถเห็นแจ้งพุทธภาวะ ในขันธ์ ๕ (สมมติ) แล้ว ก็หมายความว่าการตรัสรู้หรือการบรรลุนิพพาน ก็ปรากฏเบื้องหน้าอย่างฉับพลัน”

อย่างไรก็ตามทั้งหลายทั้งปวงที่กล่าวมานี้ ล้วนเป็นคำบอกเล่าที่ใช้ภาษา หรือตัวหนังสืออธิบาย ซึ่งยากที่จะให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างทะลุปรุโปร่ง และนำคำบอกเล่านี้ไปปฏิบัติให้บังเกิดผล นั่นเป็นเพราะไม่มีวิธีอื่นใดที่จะนำไปสู่การตรัสรู้ หรือการบรรลุธรรมสู่ความหลุดพ้นจากตัวตน มีประการเดียวคือ ต้องอาศัยการรู้แจ้งด้วยตนเอง ที่เรียกกันว่า “ปัจจัตตัง” จึงจะรู้ได้

ประดุจดั่งคนดื่มน้ำ รสชาติเป็นเช่นไร ร้อนหรือเย็นย่อมรู้ได้เอง เมื่อผู้นั้นรู้รสแห่งการตรัสรู้แล้ว เขาผู้นั้นจะไม่สามารถที่จะเขียน หรือพูดถึงรสชาติแห่งพุทธภาวะว่าเป็นเช่นไร เช่นเดียวกับมิอาจบอกได้ว่าน้ำที่ดื่มมีรสชาติเช่นไร ผู้ใดต้องการรู้รสต้องดื่มน้ำนั้นเอง เช่นเดียวกับการตรัสรู้หรือการบรรลุพุทธภาวะ ก็มิอาจอธิบายให้คนอื่นรู้ว่าเขาได้บรรลุอะไร และผลของการบรรลุเป็นเช่นไร

ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวว่า เป็นภาวะที่พ้นจากคำพูด เฉพาะอย่างยิ่งต้องตัดขาดซึ่งความรู้สึกนึกคิดไตร่ตรอง

สรุปว่า พุทธศาสนานิกายเซนไม่นิยมสอนหรืออธิบาย หรือแนะนำให้ปฏิบัติด้วยคำพูดและตัวหนังสือ เนื่องเพราะทั้งตัวหนังสือและคำพูดมิอาจที่จะอธิบายภาวะแห่งพุทธะ หรืออธิบายสัจจะภาวะหรือความเป็นจริงทางปรมัตถ์ กระทำได้แต่เพียงอุปมาอุปไมยหรือเปรียบเทียบ

แต่วิธีที่ดีที่สุดและได้ผลที่สุดในการอบรมสั่งสอน ที่เรียกว่าการถ่ายทอดธรรมจากคนหนึ่งสู่คนหนึ่ง หรือจากจิตสู่จิตนั้น มิอาจหลีกเลี่ยงการหยุดคำพูด หยุดอธิบาย หยุดคำสอนอย่างสิ้นเชิง ตามหลักธรรมที่ว่า “ของจริงนิ่งจริงเป็นใบ้ ที่พูดได้นั้นไม่จริง”

พุทธศาสนานิกายเซนมีหลักธรรมคำสอน หรือพระสูตร หรือคัมภีร์ ที่สำคัญเพียงสั้นๆ หรือมีพระสูตรเพียง ๒-๓ พระสูตร เช่น ปรัชญาปารมิตาหฤทยสูตร วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร เป็นต้น

ซึ่งพระสูตรดังกล่าวนี้ล้วนกล่าวถึงสรรพสิ่ง ว่าเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า โดยเฉพาะร่างกายและจิตใจมีคุณสมบัติว่างเปล่าโดยพื้นฐาน

กล่าวสำหรับวิถีปฏิบัติแนวเซนนั้น มิอาจจะระบุหรือกำหนดกฎเกณฑ์ว่า ต้องปฏิบัติอย่างไร แบบใด เนื่องเพราะพุทธศาสนานิกายเซนแตกต่างจากเถรวาทดังกล่าวแล้วว่า นิกายเซนไม่ยอมรับการมีตัวตน มีแต่ความว่างเปล่าเท่านั้น จึงไม่มีผู้รับผลของกรรมหรือผลของการกระทำใดๆ การปฏิบัติใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการนั่งสมาธิเพื่อให้จิตสงบ หรือการเดินจงกรม หรือดูจิตดูใจของตนเอง หรือดูอาการเคลื่อนไหวของกายในทุกอิริยบท จึงไม่บังเกิดผลใดๆ ทั้งสิ้น ผู้ปฏิบัติจึงไม่อาจจะสำเร็จหรือบรรลุธรรมะใดๆ เฉพาะอย่างยิ่งมิอาจจะก้าวพ้นทุกข์ได้ ด้วยการปฏิบัติด้วยมรรควิธีใดๆ ทั้งสิ้น

เหนืออื่นใดเซนเห็นว่า ที่ไม่ต้องปฏิบัติธรรมนั้น เนื่องเพราะสรรพสัตว์ล้วนมีพุทธภาวะ หรือธรรมะอยู่พร้อมมูลแล้ว เพียงแต่บอกหรือแนะนำให้มนุษย์ทุกคนเข้าใจและยอมรับว่า พุทธภาวะหรือพุทธะหรือธรรมะนั้น คนทุกคนหรือมนุษย์ทุกเชื้อชาติทุกชนชั้น ล้วนแต่มีอยู่เป็นอยู่เสมอกัน

ที่สำคัญยิ่งก็คือมนุษย์ทุกคนล้วนปฏิบัติตนแนวเซน หรือแบบเดียวกับเซนอยู่แล้ว ไม่ต้องปฏิบัติธรรมด้วยวิธีหนึ่งใดอีก นั่นเป็นเพราะเพียงแต่มองเห็นหรือรู้แจ้งแทงตลอดว่า สรรพสิ่งประกอบขึ้นด้วยความว่างเปล่า มิได้มีสิ่งใดดำรงอยู่เลย ซึ่งความว่างเปล่าหรือความไม่มีไม่เป็น นี่แหละคือ “พุทธภาวะ” หรือ “พุทธะ” หรือ “ธรรมะ” ที่ชาวพุทธทุกคน ปรารถนาจะมี จะเป็น หรือมุ่งแสวงหา

อ.นิโรธ จิตวิสุทธิ์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ญาณทัศนะ of enlightened Zen. "When 2

.Said for tossing mind to Buddhist conditions or to enlightenment is a way of "ปัญญาวิมุติ" translates to escape with the power of wisdom. The key principles of Zen Buddhism. Focusing on practical wisdom is important.Zen not importance. Because of that, when wisdom or wisdom enlightened that Khan 5 is the body and mind. All is empty and is Maya earlier
.
.Therefore the Zen considered shaking element know this in the identity without identity. To pop up sees that Buddhist conditions that are completely and in animals. The bright brightly in itself without a clutch.It also does not depend on words. And do not depend on the Tripitaka. The published teachings method called "from one to one heart" only
.
.Even be understanding perfectly. The sudden insight and natural condition as true. Which is a condition that everyone can own. Without the use of additives. Predictions or reflective thinking"Unconscious", which is the opposite of "consciousness" and "subconscious"
.
.As a metaphor that "bright brightness of the mind, to blaze lit up the life all those emotions or ideas both fine and coarse, and additives. Both the good and the evil, both happiness and suffering, it will calm down.And when can discover or can see informed Buddhist conditions in practice. 5 (fictional). It means that the enlightenment or achieve nirvana. Appeared before suddenly "
.
.However, all of these. All the words used language or alphabet explain. Which is hard to make readers understand it through? And bring to this implementation to bear fruit.Or enlightened to extricate from the identity is the only relies on the Enlightenment on their own, called "paccattang" to know it!
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: