บทที่ 1บทนำ1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต การแปล - บทที่ 1บทนำ1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต อังกฤษ วิธีการพูด

บทที่ 1บทนำ1. ความเป็นมาและความสำคั

บทที่ 1
บทนำ

1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของอินซูลินซึ่งไม่สามารถทำหน้าที่ลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ จึงส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดมีปริมาณสูงขึ้น ถ้าหากยังไม่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ภาวะปกติ อาจส่งผลทำให้มีอาการเฉียบพลันได้ เช่น มีอาการช็อค หมดสติ นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไต โรคตา และโรคทางระบบประสาทได้ ซึ่งสาเหตุหลักของโรคเบาหวานเกิดจากพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม พฤติกรรมการขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น ดังนั้นโรคเบาหวานจึงเป็นเป็นปัญหาที่สำคัญทางด้านสาธารณสุขของโลกและประเทศไทย จากข้อมูลสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International diabetes Federation: IDF) ได้มีการรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 285 ล้านคน และคาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มมากกว่า 435 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2573 หากไม่มีการดำเนินการในการป้องกันและควบคุมที่มีประสิทธิภาพ (รายงานผู้ป่วยในสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 336,265 ราย อัตราป่วย 523.24 ต่อประชากรแสนคน และมีผู้ป่วยสะสมในปี พ.ศ. 2551-2555 จำนวน 1,799,977 ราย อัตราความชุก 2,800.80 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยรายใหม่จำแนกเป็นเพศชาย 116,715 ราย อัตราป่วย 369.18 ต่อประชากรแสนคนและเพศหญิง 219,550 ราย อัตราป่วย 672.41 อัตราส่วนเพศชายต่อหญิงเท่ากับ 1:1.9 อัตราป่วยมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุ ซึ่งอัตราป่วยสูงขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น กล่าวคือ อายุ 60 ปี ขึ้นไป ผู้ป่วยสูงสุดมีจำนวน 173,467 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 2,128.04 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา กลุ่มอายุ 50-59 ปี มีจำนวน 97,040 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 1,207.35 ต่อประชากรแสนคน กลุ่มอายุ 40-49 ปี มีจำนวน 49,221 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 463.44 ต่อประชากรแสนคน กลุ่มอายุ 15-39 ปี มีจำนวน 15,501 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 61.61 ต่อประชากรแสนคน และกลุ่มอายุต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 1,019 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 8.29 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 59.38 รอง ลงมาโรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 24.94 โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป ร้อยละ 9.94 และอื่น ๆ ร้อยละ 5.74% (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555 : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข)
ผู้ป่วยเบาหวานในจังหวัดมหาสารคาม มีจำนวนผู้ป่วย 1,295.25 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 12,207 ราย เป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 1 ใน 3 ของประเทศรองลงมาจากพิจิตรมีอัตราป่วย 1,317.28 ต่อประชากรแสนคน มีจำนวน 7,239 ราย และปราจีนบุรีอัตราป่วย 1,306.10 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 6,161 ราย (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) และจากรายงานโรคเรื้อรังในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 พฤษภาคม 2558 พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 9,949 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 1,452 ราย และได้รับการรักษาอยู่มีจำนวน 1,963 ราย (ระบบฐานข้อมูลโรงพยาบาลมหาสารคาม) จากจากรายงานสรุปจำนวนผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนเพ็ก อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 178 ราย มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปี 2557 มีจำนวน 5 ราย และผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปี 2558 มีจำนวน 2 ราย
ดังนั้นการดูแลสุขภาพตามหลักสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อาศัยหลักการสมดุลธาตุในร่างกายประกอบด้วย 4 ธาตุซึ่งส่วนใหญ่เป็นอวัยวะต่าง ๆ เสียสมดุลอาจเกิดจากอายุฤดูกาล กาลเวลา ที่อยู่อาศัยและพฤติกรรม 8 ประการ การเสียสมดุลธาตุถ้าไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนแกไข ก็จะนำมาสู่การเกิดโรค ดังนั้นในการสร้างสุขภาพให้สุขภาพดีจึงจำเป็นต้องเอาพฤติกรรม 8 ประการหรือ 8 อ. มาปฏิบัติเป็นประจำ เป้าหมายบริการแบบนี้ใช้แผนว่าแผนเมืองไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีด้วยหลักการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีอายุขัยเฉลี่ย 80 ปี ที่ยังเป็นปัญหาหรือเกิดโรคแล้วต้องปรับสมดุล พฤติกรรมและให้การรักษา อาจใช้การนวด อบ ประคบ หรือ ยาและอาหาร ปรับสมดุล การใช้หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องมีการจัดบริหารคลินิก 8 อ.เพื่อให้คำแนะนำประกอบกับการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตามแผนคนไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยใช้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างมีความสุข
ในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ. ด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับแรงจูงใจ เนื่องจากว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานต้องมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในภาวะปกติ และความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ.ด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งสอดคล้องกับศึกษาของสุขปราณี นรารมย์ (2552) เรื่อง การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ไม่พึ่งอินซูลิน พบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวาน ความคาดหวังในความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวานให้มีคะแนนเพิ่มขึ้นกว่ากลุ่มก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และสอดคล้องกับการศึกษาของสุวิท พิมพ์ภาค (2555) เรื่อง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุม ความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนประทาย ตำบลหนองแหน อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง พฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการควบคุมระดับความดันโลหิตหลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่า
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 1Introduction1. the history and importance of the problem. Diabetes is a chronic disease which is caused by a non-contact eccentricity of insulin, which could not act to reduce blood sugar levels. Therefore, as a result, blood sugar is high. If you still cannot control blood sugar levels to normal may result in acute symptoms, such as with the shock, coma. There is also a risk of coronary artery disease. Stroke, kidney disease, eye disease, and nervous system. The main causes of diabetes, which is caused by the behavior in daily use, such as food consumption behaviour that is inappropriate. Lack of physical exercise behavior An alcoholic drink smoking etc. Therefore, diabetes is a major public health problems of the world and the country Thailand. The International Diabetes Federation of (International diabetes Federation: IDF) have reported diabetes worldwide situation, 285 million people and predicted that there will be a number of diabetic patients all over the world, adding more than 435 million. In 2573 (2030) if there is no operation in the prevention and effective control (report on strategic and Policy Office patients Office of the Permanent Secretary, Ministry of public health)In the user registration 2555 (2012) diabetes patients rate how much new detail 336265 523.24 per hundred thousand persons and has accumulated in patients 1799977 2551 (2008)-2555 (2012) number 2, the prevalence rate 800.80 list per population, thousands. The number of new patients classified as male patients rate per population, 369.18 116715 list thousands and female 219550 list of the sick rate ratio males per female 672.41 equals the rate of illness is 1:1.9 changes according to age, which is the highest rate of patients and more. That is, the age of 60 years or more. The maximum number of patients 173467 list of the sick rate is 2 per hundred people, 128.04 secondary age group 50-59 years, with the number of patients rate the list 1 97040, 207.35 per age group 40-49 thousands years the number of patients taking the rate list, 463.44 49221 per hundred thousand people in the age group of 15-39 years has the number of c-stores 15501 list.Coat patients per hundred people representing groups and 61.61 aged under 15 years, with a total of 1019 items the rate of illness is 8.29 per hundred people. The vast majority of diabetes patients to receive treatment at the hospital promotes healthy t. 59.38 per cent secondary community hospital. 24.94 percent Hospital/General Hospital, 9.94% 5.74% percent, and others (not disease surveillance report chronic 2555 (2012) contact: Bureau of epidemiology, Department of disease control, Ministry of public health)ผู้ป่วยเบาหวานในจังหวัดมหาสารคาม มีจำนวนผู้ป่วย 1,295.25 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 12,207 ราย เป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 1 ใน 3 ของประเทศรองลงมาจากพิจิตรมีอัตราป่วย 1,317.28 ต่อประชากรแสนคน มีจำนวน 7,239 ราย และปราจีนบุรีอัตราป่วย 1,306.10 ต่อประชากรแสนคน จำนวน 6,161 ราย (รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ. 2555: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) และจากรายงานโรคเรื้อรังในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 พฤษภาคม 2558 พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 9,949 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 1,452 ราย และได้รับการรักษาอยู่มีจำนวน 1,963 ราย (ระบบฐานข้อมูลโรงพยาบาลมหาสารคาม) จากจากรายงานสรุปจำนวนผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนเพ็ก อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 178 ราย มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปี 2557 มีจำนวน 5 ราย และผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปี 2558 มีจำนวน 2 ราย ดังนั้นการดูแลสุขภาพตามหลักสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อาศัยหลักการสมดุลธาตุในร่างกายประกอบด้วย 4 ธาตุซึ่งส่วนใหญ่เป็นอวัยวะต่าง ๆ เสียสมดุลอาจเกิดจากอายุฤดูกาล กาลเวลา ที่อยู่อาศัยและพฤติกรรม 8 ประการ การเสียสมดุลธาตุถ้าไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนแกไข ก็จะนำมาสู่การเกิดโรค ดังนั้นในการสร้างสุขภาพให้สุขภาพดีจึงจำเป็นต้องเอาพฤติกรรม 8 ประการหรือ 8 อ. มาปฏิบัติเป็นประจำ เป้าหมายบริการแบบนี้ใช้แผนว่าแผนเมืองไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีด้วยหลักการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีอายุขัยเฉลี่ย 80 ปี ที่ยังเป็นปัญหาหรือเกิดโรคแล้วต้องปรับสมดุล พฤติกรรมและให้การรักษา อาจใช้การนวด อบ ประคบ หรือ ยาและอาหาร ปรับสมดุล การใช้หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องมีการจัดบริหารคลินิก 8 อ.เพื่อให้คำแนะนำประกอบกับการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตามแผนคนไทยสุขภาพดีวัตถุประสงค์ให้คนไทยใช้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างมีความสุขในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ. ด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับแรงจูงใจ เนื่องจากว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานต้องมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในภาวะปกติ และความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติตามโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ 8 อ.ด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งสอดคล้องกับศึกษาของสุขปราณี นรารมย์ (2552) เรื่อง การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ไม่พึ่งอินซูลิน พบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวาน ความคาดหวังในความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวานให้มีคะแนนเพิ่มขึ้นกว่ากลุ่มก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และสอดคล้องกับการศึกษาของสุวิท พิมพ์ภาค (2555) เรื่อง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุม ความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนประทาย ตำบลหนองแหน อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง พฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการควบคุมระดับความดันโลหิตหลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 1


1 introduction, background and significance of the problem!Diabetes, chronic non-communicable disease. The abnormality of insulin, which can act to reduce blood sugar. The blood glucose level has increased.May the acute symptoms, such as shock, loss of consciousness, also lower the risk of coronary heart disease to stroke. Kidney, eye diseases, and neurological diseases.Such as eating behavior inappropriate. Behavior of the lack of exercise. Alcohol drinking behavior, smoking, etc.The International Diabetes Federation (International diabetes Federation:IDF) have been reported in patients with diabetes mellitus 285 situation all over the world millions of people. And the expected number of diabetic patients around the world more than 435 million in 2009.2573 if no operation in prevention and control of the powerful (reported in the strategy and policy of the Ministry of public health)
the 2555 who registered as new cases of diabetes patients, 336265 list, the unemployment rate 523.24 per 1 00000 population and patients with the accumulated the 2551-2555, the 1 799 977 cases, prevalence rate, 2 800.80 per 1 00000 population. Number of new patients were male, 116 715 list, the unemployment rate 369.18 per 1 00000 population and females, 219550 list, the unemployment rate 672.41 ratio of male to female was 1: 1.9 unemployment rate changes with age. The unemployment rate increased as the age, the age 60 years old patients were 173 467 maximum, cases, the unemployment rate is 2, the 128.04 per 1 00000 population, followed by age group 50-59 years, average, 97 040 list, the unemployment rate is 1 207.35 per age group, ประชากรแสน people 40-49 years. There are a number 49 221 cases, the unemployment rate is 463.44 per 1 00000 population age group 15-39 years, there were 15
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: