มาเลเซียนับเป็นประเทศหนึ่งที่มีระบบสาธารณูปโภคดีที่สุดของเอเชีย และมีผ การแปล - มาเลเซียนับเป็นประเทศหนึ่งที่มีระบบสาธารณูปโภคดีที่สุดของเอเชีย และมีผ อังกฤษ วิธีการพูด

มาเลเซียนับเป็นประเทศหนึ่งที่มีระบบ

มาเลเซียนับเป็นประเทศหนึ่งที่มีระบบสาธารณูปโภคดีที่สุดของเอเชีย และมีผลอย่างสำคัญต่อความสำเร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของมาเลเซีย สรุปได้ดังนี้
1.ท่าเรือ
รัฐบาลมาเลเซียมีการพัฒนาท่าเรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้าทางเรือ โครงการพัฒนาท่าเรือของมาเลเซียส่วนใหญ่แล้วเสร็จตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งช่วยยกระดับประสิทธิภาพการให้บริการขนส่งทางทะเลได้มากขึ้น ทำให้ท่าเรือของมาเลเซียสามารถรองรับการขนส่งสินค้าทางเรือได้มากถึง 280 ล้านตัน เมื่อเทียบกับช่วงปี 2538 ซึ่งขนส่งได้เพียง 174 ล้านตัน และยังมีโครงการขยายท่าเรืออีกในอนาคต ปัจจุบันมาเลเซียมีท่าเรือนานาชาติทั้งสิ้น 7 แห่งได้แก่
-Port Klang
-Port of Tanjung Pelepas
-Kuantan Port
-Penang Port
-Johor Port
-Kemaman Port
-Bintulu Port
ท่าเรือ 6 แห่งแรกอยู่ที่แหลมมลายู มีเพียง Bintulu Port เท่านั้นที่อยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งนี้ Port Klang และ Port of Tanjung Pelepas ได้รับการยอมรับว่าเป็น 1 ใน 10 ของท่าเรือที่ดีที่สุดในเอเชีย สำหรับรายละเอียดของท่าเรือที่สำคัญมีดังนี้
- Port Klang เป็นท่าเรือสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่กึ่งกลางชายฝั่งทางตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ปริมาณสินค้าที่ขนส่งผ่านท่าเรือแห่งนี้ประมาณ 4.5 ล้านตัน (TEUs) ต่อปี สูงเป็นอันดับ 11 ของโลก มีท่าเรือน้ำลึกที่สามารถรองรับเรือขนส่งสินค้า ขนาดใหญ่ได้ และเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการขนส่งทางทะเล เนื่องจากเป็นท่าเรือที่อยู่ระหว่างช่องแคบมะละกา (Malacca Straits) นอกจากนี้ ยังมี Free Commercial Zone (FCZ) ซึ่งเป็นเขตพิเศษสำหรับการลดหย่อนภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขนถ่ายสินค้า ด้วยปัจจัยด้านภูมิศาสตร์เพราะเป็นท่าเรือที่เป็นทางผ่านสำหรับการเดินเรือข้ามจากมหาสมุทรอินเดียไปยังมหาสมุทรแอตแลนติก รัฐบาลจึงพยายามผลักดันให้ Port Klang เป็นศูนย์กลางขนถ่ายสินค้าของประเทศและของภูมิภาค (Hub Port) และคาดว่าในปี 2553 ท่าเรือจะสามารถรองรับปริมาณสินค้าได้ถึง 8.4 ล้าน TEUs โดยมีความยาวของท่าเทียบเรือ (Berth Length) รวม 16 กิโลเมตร และมีเครือข่ายเชื่อมโยงกับท่าเรือปีนัง (Penang Port) สำหรับสินค้าจากภาคใต้ของไทยใช้บริการท่าเรือแห่งนี้ปีละมากกว่า 3 แสน TEUs
- Port of Tanjung Pelepas (PTP) อยู่ทางตอนใต้ของประเทศติดกับสิงคโปร์ ห่างจากกรุงกัวลาลัมเปอร์เพียง 40 กิโลเมตร เริ่มก่อสร้างเมื่อปี 2542 ปัจจุบันมีท่าเทียบเรือทั้งหมด 12 ท่า สามารถรองรับการขนส่งสินค้าได้ 2.5 ล้าน TEUs ต่อปี เป็นท่าเรือขนาดใหญ่อันดับที่ 16 ของโลก รัฐบาลมีเป้าหมายส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางทะเลในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยมีสายการเดินเรือ เช่น Mearsk Sealand และ Evergreen Marine Corporation เข้ามาเป็นหุ้นส่วนและย้ายฐานจากท่าเรือสิงคโปร์มาใช้บริการของท่าเรือแห่งนี้ Port of Tanjung Pelepas มีจุดเด่นเพราะตั้งอยู่ในชุมนุมของเส้นทางการเดินเรือหลักที่สำคัญ และจัดสรรพื้นที่เป็นเขตอุตสาหกรรมและกระจายสินค้า โดยมีระบบการเชื่อมต่อกับถนน ทางรถไฟ ท่าอากาศยาน และการขนส่งทางน้ำที่มีประสิทธิภาพ
1)Kuantan Port มีอีกชื่อหนึ่งว่า Kertih-Gebeng Corridor เป็นท่าเรือด้านชายฝั่งตะวันออกของแหลมมลายู ใช้สำหรับการขนส่งในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
2)Bintulu Port เป็นท่าเรือนานาชาติแห่งเดียวบนเกาะบอร์เนียว และเป็นท่าเรือสำหรับขนส่งก๊าซธรรมชาติเหลวแห่งแรกของประเทศ
2.ท่าอากาศยาน
มาเลเซียมีท่าอากาศยานนานาชาติทั้งหมด 5 แห่ง ได้แก่
1)Kuala Lumpur International Airport อยู่ในรัฐสลังงอ บนแหลมมลายู
2)Penang International Airport อยู่บนเกาะปีนัง
3)Langkawi International Airport อยู่บนเกาะลังกาวี
4)Kota Kinabalu International Airport อยู่ในรัฐซาบาห์ บนเกาะบอร์เนียว
5)Kuching International Airport อยู่ในรัฐซาราวัค บนเกาะบอร์เนียว
สำหรับท่าอากาศยาน Kuala Lumpur International Airport (KLIA) มีพื้นที่ 25,000 เอเคอร์ (6.25 หมื่นไร่) เป็นท่าอากาศยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดของมาเลเซีย อยู่บริเวณเซปังในรัฐสลังงอ ห่างจากกัวลาลัมเปอร์ไปทางใต้ประมาณ 55 กิโลเมตร สามารถเดินทางด้วยรถยนต์บนทางหลวงพิเศษใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางการบินในประเทศ มีสายการบินในประเทศรองรับ เช่น Air Asia, Pelangi Air, Berjaya Air, Mofaz Air เริ่มเปิดดำเนินการเมื่อปี 2541 รัฐบาลมีแผนให้ท่าอากาศยานแห่งนี้สามารถขนส่งผู้โดยสารได้ปีละ 60 ล้านคน และขนส่งสินค้าได้ 3 ล้านตันภายในปี 2563 และมีแผนจะขยายการขนส่งผู้โดยสารให้ได้ปีละ 100 ล้านคน และขนส่งสินค้าได้ 6 ล้านตันในอนาคต นอกจากท่าอากาศยานนานาชาติแล้ว ยังมีท่าอากาศยานภายในประเทศอีก 16 แห่ง และสนามบินทางวิ่งสั้น (STOL Ports) อีก 18 แห่ง
3.ถนน
มาเลเซียมีระบบขนส่งทางถนนที่พัฒนาเป็นอย่างมาก เป็นหนึ่งในประเทศที่มีระบบโครงข่ายถนนก้าวหน้าที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีระยะทางทั้งสิ้น 66,000 กม. ถนนสายหลักได้แก่ North-South Expressway, East-West Highway, Lebuhraya Damansara-Puchong (LDP), New Klang Valley Expressway (NKVE) และ Federal Highway Route 2 ถนนในมาเลเซียสามารถใช้เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงภาคเศรษฐกิจชนบทกับเมืองได้เป็นอย่างดี ในช่วงระหว่างปี 2528-38 มาเลเซียมีการก่อสร้างถนนเพิ่มขึ้นจาก 0.12 ก.ม./พื้นที่ 1 ตร.กม. เป็น 0.2 ก.ม./พื้นที่ 1 ตร.กม. หรือเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 67 ครอบคลุมทั่วประเทศ และเมื่อถึงปี 2543 มาเลเซียมีการก่อสร้างถนนยาว 0.25 ก.ม./พื้นที่ 1 ตร.กม.
4.รถไฟ
Keretapi Tanah Melayu Bhd. (KTMB) เป็นบริษัทเอกชนที่ดำเนินการขนส่งระบบรางในมาเลเซีย โดยรัฐบาลเป็นผู้ลงทุนในด้านโครงสร้างพื้นฐานกับตัวรถทั้งหมด และ KTMB ทำหน้าที่บริหารการเดินรถ รางรถไฟทั่วประเทศรวมระยะทาง 1,658 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีรถไฟชานเมืองจากเมือง Rasa - Seremban และเมือง Klang - Sentul และกำลังขยายเส้นทางเพิ่มเติมจากเมือง Rasa - Ipoh อีก 150 กิโลเมตร สำหรับรถไฟฟ้าในเมือง มีทั้งระบบรางคู่และรางเดี่ยว (โมโนเรล) ส่วนใหญ่รางรถไฟเป็นแบบ Meter Gauge ยกเว้นเส้นทางเชื่อมสนามบินจากกรุงกัวลาลัมเปอร์ถึง ท่าอากาศยานกัวลาลัมเปอร์ (Airport Rail Link) เส้นทางเชื่อมสนามบินดังกล่าว ให้บริการ 2 รูปแบบ คือ Express Line ระยะทางจากต้นทาง-ปลายทาง ความเร็วสูงสุด 175 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเดินทาง 28 นาที และวิ่งทุก 10 นาที ให้บริการตั้งแต่ 05.00-24.00 น. รองรับผู้โดยสารราว 2.1 หมื่นคนต่อ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Malaysia, one of the nation's public utilities system in Asia and has resulted in significant achievements in economic development. Malaysia's key infrastructure. Summarized as follows: 1. the pier. The Government of Malaysia has developed the port to increase efficiency in cargo ships. Malaysia's port development project in large part already done since the year 2543, which enhances maritime transport more. Making the port of Malaysia can accommodate cargo ships of up to 280 million tons. Compared to the past year 2538 which only 174 million tons of freight, and there is also a pier expansion project in the future. Malaysia currently has a total of 7 international Pier include. -Port Klang -Port of Tanjung Pelepas -Kuantan Port -Penang Port -Johor Port -Kemaman Port -Bintulu Port Pier 6, the first is the Malay Peninsula. Bintulu Port is the only one who had only located on Borneo this Port of Port Klang and both Tanjung Pelepas has been recognized as one of the 10 best of the port in Asia. For details of important harbours are as follows: - Port Klang เป็นท่าเรือสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่กึ่งกลางชายฝั่งทางตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ปริมาณสินค้าที่ขนส่งผ่านท่าเรือแห่งนี้ประมาณ 4.5 ล้านตัน (TEUs) ต่อปี สูงเป็นอันดับ 11 ของโลก มีท่าเรือน้ำลึกที่สามารถรองรับเรือขนส่งสินค้า ขนาดใหญ่ได้ และเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการขนส่งทางทะเล เนื่องจากเป็นท่าเรือที่อยู่ระหว่างช่องแคบมะละกา (Malacca Straits) นอกจากนี้ ยังมี Free Commercial Zone (FCZ) ซึ่งเป็นเขตพิเศษสำหรับการลดหย่อนภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขนถ่ายสินค้า ด้วยปัจจัยด้านภูมิศาสตร์เพราะเป็นท่าเรือที่เป็นทางผ่านสำหรับการเดินเรือข้ามจากมหาสมุทรอินเดียไปยังมหาสมุทรแอตแลนติก รัฐบาลจึงพยายามผลักดันให้ Port Klang เป็นศูนย์กลางขนถ่ายสินค้าของประเทศและของภูมิภาค (Hub Port) และคาดว่าในปี 2553 ท่าเรือจะสามารถรองรับปริมาณสินค้าได้ถึง 8.4 ล้าน TEUs โดยมีความยาวของท่าเทียบเรือ (Berth Length) รวม 16 กิโลเมตร และมีเครือข่ายเชื่อมโยงกับท่าเรือปีนัง (Penang Port) สำหรับสินค้าจากภาคใต้ของไทยใช้บริการท่าเรือแห่งนี้ปีละมากกว่า 3 แสน TEUs - Port of Tanjung Pelepas (PTP) อยู่ทางตอนใต้ของประเทศติดกับสิงคโปร์ ห่างจากกรุงกัวลาลัมเปอร์เพียง 40 กิโลเมตร เริ่มก่อสร้างเมื่อปี 2542 ปัจจุบันมีท่าเทียบเรือทั้งหมด 12 ท่า สามารถรองรับการขนส่งสินค้าได้ 2.5 ล้าน TEUs ต่อปี เป็นท่าเรือขนาดใหญ่อันดับที่ 16 ของโลก รัฐบาลมีเป้าหมายส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางทะเลในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยมีสายการเดินเรือ เช่น Mearsk Sealand และ Evergreen Marine Corporation เข้ามาเป็นหุ้นส่วนและย้ายฐานจากท่าเรือสิงคโปร์มาใช้บริการของท่าเรือแห่งนี้ Port of Tanjung Pelepas มีจุดเด่นเพราะตั้งอยู่ในชุมนุมของเส้นทางการเดินเรือหลักที่สำคัญ และจัดสรรพื้นที่เป็นเขตอุตสาหกรรมและกระจายสินค้า โดยมีระบบการเชื่อมต่อกับถนน ทางรถไฟ ท่าอากาศยาน และการขนส่งทางน้ำที่มีประสิทธิภาพ 1.) Kuantan Port is also named Kertih-Gebeng is the port side Corridor East coast of the Malay Peninsula. Used for transportation in petrochemical industry Bintulu Port is the port 2) International on Borneo and a pier for transportation of liquefied natural gas. 2. the airport Malaysia has an international airport, all 5 properties include: Kuala Lumpur International Airport to 1) are in a State of salangngo on the Malay Peninsula. 2. Penang International Airport located on the island), Penang. Langkawi International Airport is located on the 3), Langkawi Island. Kota Kinabalu International Airport-7) is in the State of Sabah on Borneo island. Kuching International Airport is located in 5 States), Sarawak on Borneo island. สำหรับท่าอากาศยาน Kuala Lumpur International Airport (KLIA) มีพื้นที่ 25,000 เอเคอร์ (6.25 หมื่นไร่) เป็นท่าอากาศยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดของมาเลเซีย อยู่บริเวณเซปังในรัฐสลังงอ ห่างจากกัวลาลัมเปอร์ไปทางใต้ประมาณ 55 กิโลเมตร สามารถเดินทางด้วยรถยนต์บนทางหลวงพิเศษใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางการบินในประเทศ มีสายการบินในประเทศรองรับ เช่น Air Asia, Pelangi Air, Berjaya Air, Mofaz Air เริ่มเปิดดำเนินการเมื่อปี 2541 รัฐบาลมีแผนให้ท่าอากาศยานแห่งนี้สามารถขนส่งผู้โดยสารได้ปีละ 60 ล้านคน และขนส่งสินค้าได้ 3 ล้านตันภายในปี 2563 และมีแผนจะขยายการขนส่งผู้โดยสารให้ได้ปีละ 100 ล้านคน และขนส่งสินค้าได้ 6 ล้านตันในอนาคต นอกจากท่าอากาศยานนานาชาติแล้ว ยังมีท่าอากาศยานภายในประเทศอีก 16 แห่ง และสนามบินทางวิ่งสั้น (STOL Ports) อีก 18 แห่ง 3. Rd. Malaysia has developed road transportation system is very much as one of the countries with the most advanced road network in Southeast Asia. A total of 66,000 km main road include North-South East-West, Damansara-Puchong Expressway, Highway, Lebuhraya (LDP) New Klang Valley Expressway (NKVE) and Federal Highway Route 2 in Malaysia can be used as a network linking rural economic sectors to the city as well. During the year there are 2528 (1985) Malaysia-road construction increased from 0.12 g m/1 sq. km is 0.2 g m/1 sq. km or 67 percent increase in coverage across the country, and when the year 2543 Malaysia has long road construction 0.25 g m/1 sq. km. 4. train. Keretapi Tanah Melayu Bhd. (KTMB) เป็นบริษัทเอกชนที่ดำเนินการขนส่งระบบรางในมาเลเซีย โดยรัฐบาลเป็นผู้ลงทุนในด้านโครงสร้างพื้นฐานกับตัวรถทั้งหมด และ KTMB ทำหน้าที่บริหารการเดินรถ รางรถไฟทั่วประเทศรวมระยะทาง 1,658 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีรถไฟชานเมืองจากเมือง Rasa - Seremban และเมือง Klang - Sentul และกำลังขยายเส้นทางเพิ่มเติมจากเมือง Rasa - Ipoh อีก 150 กิโลเมตร สำหรับรถไฟฟ้าในเมือง มีทั้งระบบรางคู่และรางเดี่ยว (โมโนเรล) ส่วนใหญ่รางรถไฟเป็นแบบ Meter Gauge ยกเว้นเส้นทางเชื่อมสนามบินจากกรุงกัวลาลัมเปอร์ถึง ท่าอากาศยานกัวลาลัมเปอร์ (Airport Rail Link) เส้นทางเชื่อมสนามบินดังกล่าว ให้บริการ 2 รูปแบบ คือ Express Line ระยะทางจากต้นทาง-ปลายทาง ความเร็วสูงสุด 175 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเดินทาง 28 นาที และวิ่งทุก 10 นาที ให้บริการตั้งแต่ 05.00-24.00 น. รองรับผู้โดยสารราว 2.1 หมื่นคนต่อ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Malaysia is one of the best utilities in Asia. And has been critical to the success of economic development in recent years. The infrastructure of Malaysia Summarized as follows:
1. Port
Malaysian government to develop the port to increase the efficiency of shipping. Development of the port of Malaysia, most completed since 2543, which helped to raise the efficiency of marine transportation services for more. Port of making Malaysia is capable of shipping up to 280 million tons compared to the year 2538, which was only 174 million tons of freight and port expansion projects in the future. Malaysia currently has a total of seven, including international ports
-Port Klang
Tanjung Pelepas-Port of
Port -Kuantan
-Penang Port
-Johor Port
-Kemaman Port
-Bintulu Port
Pier 6 at the First Malaya only Bintulu Port is located on the island of Borneo. the Port Klang and Port of Tanjung Pelepas has been recognized as one of the 10 best ports in Asia. For details of the major ports are:
- Port Klang, a major port in the region of Southeast Asia. Located in the center of the west coast of the Malay Peninsula. The volume of goods shipped through the port, about 4.5 million tons (TEUs) per year ranks 11 of the world's deep-water port that can accommodate large cargo ships and a stronghold in maritime transport. Because the port is in the Strait of Melaka (Malacca Straits) is also a Free Commercial Zone (FCZ), a special zone for the reduction of taxes and fees. In cargo handling Because geography is a factor that is through the harbor for sailing across the Indian Ocean to the Atlantic. The government is trying to push for Port Klang as a central transit country and the region (Hub Port), and estimated that in 2553 the port will be able to accommodate cargo volume of up to 8.4 million TEUs by the length of the berth (Berth Length. ) includes 16 kilometers and a network linking the port of Penang (Penang Port) for the products of southern Thailand a port of this year, more than three hundred thousand TEUs
- Port of Tanjung Pelepas (PTP) in the south of the country caught. Singapore From Kuala Lumpur, just 40 kilometers, construction began on the 2542 current pier 12 port capable of shipping 2.5 million TEUs per year, is a large port ranked 16th in the world, the government aims to encourage a cargo hub. sea, regional and global levels. The shipping lines such Mearsk Sealand and Evergreen Marine Corporation entered into a partnership and moved to Singapore from the port of Port of Tanjung Pelepas Port, this feature is located in the confluence of major shipping routes. And the industrial and distribution space. The system is connected to the airport road, rail and water transport efficiency
1) Kuantan Port has another name. Kertih-Gebeng Corridor, a port east coast of Malaya. Used for transportation in the petrochemical industry,
2) Bintulu Port is the only international port on the island of Borneo. And a port for transporting liquefied natural gas, the country's first
airport 2.
All five of Malaysia's international airports, namely
1) Kuala Lumpur International Airport in the state of Selangor. On Malaya
2) Penang Penang International Airport is
3) Langkawi. International Airport on the island of Langkawi
4) Kota Kinabalu International Airport in Sabah. Borneo
5) Kuching International Airport in Sarawak. Borneo
airport for Kuala Lumpur International Airport (KLIA), with an area of 25,000 acres (6.25 billion hectares) is a municipal airport, the largest of Malaysia. Sepang is located in the state of Selangor. From Kuala Lumpur to south about 55 kilometers by car on the highway within one hour, also an aviation hub in the country. With airlines in supporting such as Air Asia, Pelangi Air, Berjaya Air, Mofaz Air began operations in the year 2541, the government plans to Airport offers easy transportation of passengers each year 60 million people and cargo up to 3 million tonnes. year 2563 and plans to expand to transport passengers per year and 100 million shipping 6 million tonnes in the future. The international airport and There are 16 domestic airports and airport runway short (STOL Ports) another 18
3. Road
Malaysia road transport system is highly developed. As one of the countries with the most advanced road network in Southeast Asia. A total distance of 66,000 km roads including North-South Expressway, East-West Highway, Lebuhraya Damansara-Puchong (LDP), New Klang Valley Expressway (NKVE) and Federal Highway Route 2 road in Malaysia can be used as a network connection. to the rural economy, with the city as well. During the year 2528-38 Malaysian road construction increased from 0.12 km / 1 sq km area is 0.2 km / sq km area, one or more than 67 percent coverage. Nationwide And by the year 2543, Malaysia has a long road 0.25 km / 1 sq km area
4. Train
Keretapi Tanah Melayu Bhd. (KTMB) is a private company that operates the rail transport system in Malaysia. The government is investing in infrastructure to serve the entire vehicle and KTMB operate. Tracks nationwide, including 1,658 km distance from the city is also a suburban train Rasa - Seremban town and Klang - Sentul route and is expanding from cities Rasa - Ipoh train another 150 km in the city. Both double track and single track (monorail), most of the tracks are excluded Meter Gauge route from the airport to Kuala Lumpur. Kuala Lumpur International Airport (Airport Rail Link) links the Airport Express Line offers two models is the distance from the source - destination. Top speed 175 mph The trip takes 28 minutes and runs every 10 minutes daily from 05.00-24.00 hrs., About 2.1 thousand passengers per person.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: