วัฒนธรรมและประเพณีสมัยกรุงศรีอยุธยาดินแดนที่เป็นประเทศไทยทุกวันนี้มีคว การแปล - วัฒนธรรมและประเพณีสมัยกรุงศรีอยุธยาดินแดนที่เป็นประเทศไทยทุกวันนี้มีคว อังกฤษ วิธีการพูด

วัฒนธรรมและประเพณีสมัยกรุงศรีอยุธยา

วัฒนธรรมและประเพณีสมัยกรุงศรีอยุธยา
ดินแดนที่เป็นประเทศไทยทุกวันนี้มีความเป็นมายาวนาน จึงมีวัฒนธรรมดั้งเดิม ซึ่งมีที่มาจากจีน อินเดีย ขอม มอญ และประเทศใกล้เคียงอื่น ๆ วัฒนธรรมสมัยอยุธยาจึงเป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมไทยแท้ และวัฒนธรรมที่รับจากต่างชาติ แล้วนำมาดัดแปลงให้เหมาะสม วัฒนธรรมต่างชาติที่รับเข้ามามากที่สุด คือ วัฒนธรรมอินเดีย แต่มิได้รับโดยตรง รับต่อจากขอม มอญ และจากพวกพราหมณ์ที่สืบเชื้อสายต่อ ๆ กันมาอีกทีหนึ่ง บางอย่างยังปรากฏอยู่จนปัจจุบันนี้ ที่เห็นได้เด่นชัด คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา นอกจากนั้นอยุธยายังรับวัฒนธรรมจากอาณาจักรไทยอื่น ๆ เช่น รับเอารูปแบบตัวอักษรและการเขียนหนังสือจากสุโขทัย

วัฒนธรรมที่สำคัญมีดังนี้
๑. วัฒนธรรมการแต่งกาย การแต่งกายมีบทบาทต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในการสร้างความสุขใจได้ทางหนึ่ง ด้วยเหตุที่มนุษย์รักงาม และเป็นสิ่งที่หาได้ไม่ยากนัก วัฒนธรรมการแต่งกายของคนในแต่ละสังคมมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาพความเป็นอยู่ และมีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยภาวะของบ้านเมือง สมัยอยุธยามีการแต่งกายดังนี้
๑.๑ การแต่งกายของคนชั้นสูง คนชั้นสูงแต่งกายตามขนบธรรมเนียมประเพณีของราชการ ซึ่งเจ้านายหรือข้าราชการผู้ใหญ่ทั้งหลายใช้กัน และพวกผู้ดีมีสกุล ผู้หญิงทั้งหลายถือเป็นแบบอย่างเพราะแสดงให้เห็นว่าอยู่ในสังคมชั้นสูง
๑.๒ การแต่งกายของชาวบ้าน ชาวบ้านจะนุ่งโจงกระเบน พวกทางเหนือ ผู้ชายมักไว้ผมยาว ส่วนพวกทางใต้มักตัดผมให้สั้น สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ผู้ชายตัดผมทรงมหาดไทย ส่วนผู้หญิงคงไว้ผมยาวและห่มผ่าสไบ
๑.๓ การแต่งกายยามเกิดสงคราม ยามสงครามผู้หญิงอาจต้องช่วยสู้รบหรือให้การสนับสนุน มีการเปลี่ยนทรงผมตัดผมให้สั้นดูคล้ายชาย ทะมัดทะแมงเข้มแข็งขึ้น การนุ่งห่มต้องให้รัดกุม แน่นไม่รุ่มร่าม เคลื่อนไหวได้สะดวก ห่มผ้าแบบตะเบ็งมาน ส่วนผู้ชายไม่เปลี่ยนแปลง
ประเพณีการแต่งผมสตรีชาวอยุธยา ซิมอง เดอ ลาลูแบร์ อัครราชทูตฝรั่งเศส จดไว้ว่า “ …ผมชาวสยามนั้นดำหนาและสลวย และทั้งชายหญิงไว้ผมสั้นมาก ผมที่ขอดรอบกระหม่อมยาวเพียงถึงชั่วแค่ปลายใบหูข้างบนเท่านั้น ผมข้างล่างจนถึงท้ายทอยนั้น ผู้ชายโกนเกลี้ยงและความนิยมกันอย่างว่านี้เป็นที่พอใจชาวสยามมาก แต่ผู้หญิงปล่อยผมกลางกระหม่อมยาวหน่อย ไปล่ขึ้นเป็นปีกตรงหน้าผาก กระนั้นก็ยังไม่รวมเข้าเกล้ากระหมวดเกศ
๒. กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ประเพณีสำคัญที่นับเป็นพระราชพิธีสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งควรจะนำมาระบุไว้ได้แก่ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค จากประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่า เป็นประเพณีที่จัดให้มีขึ้นเป็นประจำทุกปี และในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งเป็นยุคที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองอย่างสูงสุด ทางราชการได้จัดกระบวนพยุหยาตราเต็มยศขึ้นเรียกว่า “กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง “ ปรากฏว่าต้องใช้คนตั้งแต่ ๑๐,๐๐๐ คนเข้าริ้วกระบวน อันนับเป็นริ้วกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคที่ยิ่งใหญ่และมโหฬารที่สุด เป็นที่น่ายินดีที่รัฐบาลของเราเล็งเห็นความสำคัญของการจัดกระบวนพยุหยาตรา ทางชลมารค ซึ่งกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคที่จัดให้มีขึ้นครั้งล่าสุด เมื่อไม่ช้าไม่นานมานี้ เท่ากับเป็นการรักษาประเพณีประจำชาติไว้โดยแท้…”
๓. ประเพณีเดือนสิบเอ็ด เดือนสิบเอ็ดนี้ สมัยกรุงศรีอยุธยามีพิธีแผ่นดินที่สำคัญมากอยู่พิธีหนึ่ง คือพิธีแข่งเรือ เรือหลวงที่เข้าแข่งชื่อเรือสมรรถไชยของพระเจ้าอยู่หัว กับเรือไกรสรสุข ของสมเด็จพระมเหสี การแข่งเรือนี้ยังเป็นการเสี่ยงทายอีกด้วย คือถ้าเรือสมรรถไชยแพ้ก็แสดงว่าข้าวเหลือเกลืออิ่ม พลเมืองเป็นสุข ถ้าสมรรถไชยชนะ บ้านเมืองก็จะมีเรื่องเดือดร้อน
๔. ประเพณีเดือนสิบสอง ประเพณีลอยกระทงในเดือนสิบสองเป็นประเพณีที่ประชาชนไทยนิยมชื่นชมกันหนักหนา เพราะก่อให้เกิดความสุขการสุขใจเป็นพิเศษนั่นเอง ก่อนที่จะนำคำประพันธ์ของ นายมี ที่บรรยายถึงเดือนสิบสองมาลงไว้ประกอบเรื่องก็ใคร่จะเขียนเสนอท่านผู้อ่าน ให้ทราบว่าในเดือนสิบสอง ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีประเพณีพระราชพิธีอะไรบ้าง มี (๑) พระราชพิธีจองเปรียงตามประทีป (ชักโคม) ในพระราชวังแลตามบ้านเรือนทั้งในรพระนครและนอกพระนครทั่วกัน กำหนด ๑๕ วัน (๒) ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ โปรดให้ทำจุลกฐิน คือทอดผ้าให้เสร็จในวันเดียวแล้ว (เอาผ้าผืนนั้นพระราชทานกฐิน)
๕. ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์แต่ละแห่งย่อมผิดแผกแตกต่างกันไป และเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย หากจะกล่าวถึงพระราชพิธีละแลงสุก(เถลิงศก) เมื่อสงกรานต์แทน (๑) พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาเสด็จไป สรงน้ำพระพุทธปฏิมากร ศรีสรรเพชญ์ พระพิฆเนศวร (๒) โปรดให้นิมนต์พระสงฆ์ราชาคณะเข้ามาสรงน้ำ รับพระราชทานอาหารบิณฑบาต จตุปัจจัยทาน ที่ในพระราชวังทั้ง ๓ วัน (๓) ทรงก่อพระเจดีย์ทรายที่วัดพระศรีสรรเพชญ์ และมีการฉลองพระเจดีย์ทรายด้วย (๔) ตั้งโรงท่อทานเลี้ยงพระแลราษฎรซึ่งมาแต่จตุรทิศ มีเครื่องโภชนาอาหารคาวหวาน น้ำกิน น้ำอาบและยารักษาโรค พระราชทานทั้ง ๓ วัน
๖. ประเพณีการลงแขกทำนา ประเพณีลงแขกทำนานับเป็นประเพณีอีกประเพณีหนึ่งที่ชาวกรุงศรีอยุธยารักษาเอา ไว้ คือ เมื่อถึงฤดูเกี่ยวข้าว ชาวนาก็ช่วยกันเก็บเกี่ยว ร้องรำทำเพลงกันไปบ้าง ได้ทั้งงานได้ทั้งความเบิกบานสำราญใจและไมตรีจิตมิตรภาพ ทุกวันนี้ก็ยังคงปฏิบัติกันอยู่ประเพณีนี้แสดงให้เห็นถึงความพร้อมเพรียง ความรักพวกพ้องของชาวกรุงศรีอยุธยา เป็นการปฏิบัติเข้าทำนองสุภาษิตที่ว่า “ โบราณว่า ถ้าเหลือกำลังลาก ให้ออกปากบอกแขกช่วยแบกหาม”เท่ากับเป็นเครื่องยืนยันถึงลักษณะนิสัยใจคอของคนไทยในสมัยก่อนอีกกรณีหนึ่ง
๗. วัฒนธรรมทางวรรณกรรม ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีนั้น กรุงศรีอยุธยารุ่งเรืองมากที่สุดสุดจะพรรณนาให้จบสิ้นได้จะขอยกมากล่าวเฉพาะ วัฒนธรรมทางวรรณกรรมแต่อย่างเดียว ผู้เขียนวรรณกรรมสมัยเก่ามักจะขึ้นต้นเรื่องด้วยคำยกย่องพระเกียรติยศของพระ มหากษัตริย์ไทย และสรรเสริญความงามความเจริญของเมืองไทย เช่น ลิลิตพระลอ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณคดีชิ้นเอก สันนิษฐานว่าแต่งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ และขุนช้างขุนแผน จัดเป็นวรรณกรรมที่มีความหมายเกี่ยวกับความเป็นระเบียบในการกินอยู่ ซึ่งนับเป็นความเจริญทางวัตถุ เช่นตอนชมเรือนขุน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The culture and tradition of the Ayutthaya period.The territory belonging to the country of Thailand today is historic, traditional culture, which has has come from China, India and other neighboring countries to give the Mon. Culture of Ayutthaya is a mixture of culture, Thailand and from foreign cultures, then taken to adapt appropriately. Foreign cultures that received the most cultural India, but has not been directly obtained from the Brahmin the Mon and Khmer, they descended the next one again. Some also appear, until now a prominent Buddhist culture is about. In addition, the Ayutthaya Kingdom of Thailand from the culture, such as obtaining a written letter patterns and books from the Sukhothai period.The following are the most important culture.1. the dress culture The dress has the role of personal lives to create a happy one. Whereas human love and is not difficult to find. The culture of the people in the dress of each society. Depending on the living conditions and the deficiencies of the era change country. Ayutthaya is dressed like this: 1.1 of advanced dressing High class dress code, according to the Government's, which assimilated the boss or Government officials adults, all of them together and there are currency phudi. Many women are treated as an example because it shows that in high society. 1.2 the dress of the villagers. People will wear a loincloth. Their North Men's long hair often. The southern section, they tend to have short hair cut. King Narai Men's haircut, hairstyles, Interior Women keep long hair and clad slit a shawl 1.3 war dress guards. Dawn of war, women may need help to fight or support. There is a change of hairstyle, short hair cuts look like strong men thamat thamaeng up apparel, strong motion rumram not tight and clad a tabengman best man could not change. Traditionally women's hair look de la chaoayutya SI Lu bear note that France Ambassador to Siam and the black people hair, sleek, and very short hair female. Long hair only to evil, just khotropkramom at the end of an ear above only. Hair below until the occiput. Men shave totally and completely that this popularity is that many people of Siam. But it's a bit long, klangkramom hair women leave a direct frontal wings pleiku nonetheless still not integrated to proclaim to knot the hair. ๒. กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ประเพณีสำคัญที่นับเป็นพระราชพิธีสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งควรจะนำมาระบุไว้ได้แก่ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค จากประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่า เป็นประเพณีที่จัดให้มีขึ้นเป็นประจำทุกปี และในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งเป็นยุคที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองอย่างสูงสุด ทางราชการได้จัดกระบวนพยุหยาตราเต็มยศขึ้นเรียกว่า “กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง “ ปรากฏว่าต้องใช้คนตั้งแต่ ๑๐,๐๐๐ คนเข้าริ้วกระบวน อันนับเป็นริ้วกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคที่ยิ่งใหญ่และมโหฬารที่สุด เป็นที่น่ายินดีที่รัฐบาลของเราเล็งเห็นความสำคัญของการจัดกระบวนพยุหยาตรา ทางชลมารค ซึ่งกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคที่จัดให้มีขึ้นครั้งล่าสุด เมื่อไม่ช้าไม่นานมานี้ เท่ากับเป็นการรักษาประเพณีประจำชาติไว้โดยแท้…”๓. ประเพณีเดือนสิบเอ็ด เดือนสิบเอ็ดนี้ สมัยกรุงศรีอยุธยามีพิธีแผ่นดินที่สำคัญมากอยู่พิธีหนึ่ง คือพิธีแข่งเรือ เรือหลวงที่เข้าแข่งชื่อเรือสมรรถไชยของพระเจ้าอยู่หัว กับเรือไกรสรสุข ของสมเด็จพระมเหสี การแข่งเรือนี้ยังเป็นการเสี่ยงทายอีกด้วย คือถ้าเรือสมรรถไชยแพ้ก็แสดงว่าข้าวเหลือเกลืออิ่ม พลเมืองเป็นสุข ถ้าสมรรถไชยชนะ บ้านเมืองก็จะมีเรื่องเดือดร้อน๔. ประเพณีเดือนสิบสอง ประเพณีลอยกระทงในเดือนสิบสองเป็นประเพณีที่ประชาชนไทยนิยมชื่นชมกันหนักหนา เพราะก่อให้เกิดความสุขการสุขใจเป็นพิเศษนั่นเอง ก่อนที่จะนำคำประพันธ์ของ นายมี ที่บรรยายถึงเดือนสิบสองมาลงไว้ประกอบเรื่องก็ใคร่จะเขียนเสนอท่านผู้อ่าน ให้ทราบว่าในเดือนสิบสอง ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีประเพณีพระราชพิธีอะไรบ้าง มี (๑) พระราชพิธีจองเปรียงตามประทีป (ชักโคม) ในพระราชวังแลตามบ้านเรือนทั้งในรพระนครและนอกพระนครทั่วกัน กำหนด ๑๕ วัน (๒) ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ โปรดให้ทำจุลกฐิน คือทอดผ้าให้เสร็จในวันเดียวแล้ว (เอาผ้าผืนนั้นพระราชทานกฐิน)๕. ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์แต่ละแห่งย่อมผิดแผกแตกต่างกันไป และเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย หากจะกล่าวถึงพระราชพิธีละแลงสุก(เถลิงศก) เมื่อสงกรานต์แทน (๑) พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาเสด็จไป สรงน้ำพระพุทธปฏิมากร ศรีสรรเพชญ์ พระพิฆเนศวร (๒) โปรดให้นิมนต์พระสงฆ์ราชาคณะเข้ามาสรงน้ำ รับพระราชทานอาหารบิณฑบาต จตุปัจจัยทาน ที่ในพระราชวังทั้ง ๓ วัน (๓) ทรงก่อพระเจดีย์ทรายที่วัดพระศรีสรรเพชญ์ และมีการฉลองพระเจดีย์ทรายด้วย (๔) ตั้งโรงท่อทานเลี้ยงพระแลราษฎรซึ่งมาแต่จตุรทิศ มีเครื่องโภชนาอาหารคาวหวาน น้ำกิน น้ำอาบและยารักษาโรค พระราชทานทั้ง ๓ วัน
๖. ประเพณีการลงแขกทำนา ประเพณีลงแขกทำนานับเป็นประเพณีอีกประเพณีหนึ่งที่ชาวกรุงศรีอยุธยารักษาเอา ไว้ คือ เมื่อถึงฤดูเกี่ยวข้าว ชาวนาก็ช่วยกันเก็บเกี่ยว ร้องรำทำเพลงกันไปบ้าง ได้ทั้งงานได้ทั้งความเบิกบานสำราญใจและไมตรีจิตมิตรภาพ ทุกวันนี้ก็ยังคงปฏิบัติกันอยู่ประเพณีนี้แสดงให้เห็นถึงความพร้อมเพรียง ความรักพวกพ้องของชาวกรุงศรีอยุธยา เป็นการปฏิบัติเข้าทำนองสุภาษิตที่ว่า “ โบราณว่า ถ้าเหลือกำลังลาก ให้ออกปากบอกแขกช่วยแบกหาม”เท่ากับเป็นเครื่องยืนยันถึงลักษณะนิสัยใจคอของคนไทยในสมัยก่อนอีกกรณีหนึ่ง
๗. วัฒนธรรมทางวรรณกรรม ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีนั้น กรุงศรีอยุธยารุ่งเรืองมากที่สุดสุดจะพรรณนาให้จบสิ้นได้จะขอยกมากล่าวเฉพาะ วัฒนธรรมทางวรรณกรรมแต่อย่างเดียว ผู้เขียนวรรณกรรมสมัยเก่ามักจะขึ้นต้นเรื่องด้วยคำยกย่องพระเกียรติยศของพระ มหากษัตริย์ไทย และสรรเสริญความงามความเจริญของเมืองไทย เช่น ลิลิตพระลอ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณคดีชิ้นเอก สันนิษฐานว่าแต่งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ และขุนช้างขุนแผน จัดเป็นวรรณกรรมที่มีความหมายเกี่ยวกับความเป็นระเบียบในการกินอยู่ ซึ่งนับเป็นความเจริญทางวัตถุ เช่นตอนชมเรือนขุน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The culture and tradition of the Ayutthaya period
.Thailand is the land that is today has existed for a long time, therefore, the traditional culture, which is from China, India, Khmer and mon and nearby countries. Therefore, culture which combines authentic Thai culture.And adapted accordingly. Foreign cultural input so much as possible is the Indian culture, but not directly. ต่อจาก Khmer, Mon, and from the Brahmin who descended. Each other again, some still viewable until today.Is culture on Buddhism. The culture of the Thai kingdom of Ayutthaya to such other get letters and writing books from Sukhothai
.

the important culture are as follows: 1.Culture of dress. The dress has played an important role in human living to create happiness in one, because human love beauty and is very easy to find. Culture of each person in the society is different.Changes with age and condition of the country. The following period dress
.1.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: