๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติ การแปล - ๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติ อังกฤษ วิธีการพูด

๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อ

๑. ประวัติความเป็นมา
บายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อนเหมือนการใช้ถ้วยชาม จึงนำใบตองมาทำเป็นกระทงสำหรับใส่อาหารในพิธีการต่างๆ รวมทั้งพิธีบายศรี
และอีกประการหนึ่งคือ รูปร่างลักษณะของบายศรีที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวร ตลอดจนเครื่องสังเวยนั้นมีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์ เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ เช่น การเวียนเทียน การเจิม และพิธีการต่าง ๆ เหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้น
ความสำคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญไว้ว่า พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีที่สำคัญของชาวอีสานและชาวเหนือ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้น ดังนั้นวิถีการดำเนินชีวิตแทบทุกอย่างจึงมักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ การสู่ขวัญจะช่วยให้เกิดศิริมงคล ชีวิตอยู่ด้วยความราบรื่น จิตใจเข้มแข็ง โชคดียิ่งขึ้น ปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดี หายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง เป็นการเรียกร้องพลังทางจิต ช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็ง สามารถฟันฝ่าภัยพิบัติต่างๆ ได้ การสู่ขวัญช่วยทำให้เกิดมงคล ทำให้ดำรงอยู่ด้วยความสุขราบรื่น มีโชคลาภมากขึ้น และอาจดลปรารถนาให้ผู้ที่เคราะห์ร้ายพ้นจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ด้วยมูลเหตุแห่งการสู่ขวัญนี่เอง
ประวัติความเป็นมาของพิธีบายศรีนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์ซึ่งเข้ามาทางเขมร เพราะคำว่า “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลว่า ข้าวสุก ส่วนคำว่า “ศรี” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่า “สิริ” แปลว่า มิ่งขวัญ พิธีบายศรีสู่ขวัญ ยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไร ผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเริ่มมีการทำขวัญตั้งแต่เมื่อใด เพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า “ขวัญ” จะมีประจำกายของทุกคน มีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษา ขวัญเป็นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประคองชีวิต ติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่ง
ในการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญจะมีเครื่องใช้สำคัญอยู่ ๒ อย่าง คือเครื่องบูชาพาขวัญหรือเครื่องบายศรีตามประเพณี และด้ายดิบนำมาจับเป็นวงยาวพอที่จะผูกรอบแขนหรือรอบข้อมือได้ ในการจัดเครื่องบายศรีนี้ ถือว่าเป็นของสูงเพราะเป็นเครื่องสังเวยเทพยดา ดังนั้นจะต้องจัดด้วยพานแล้วนำใบตองมาเย็บเป็นบายศรี
ประเพณีการสู่ขวัญที่ทำในปัจจุบันนี้ยังมีอยู่เพียงการสู่ขวัญบางประเภท เท่านั้น เช่น การสู่ขวัญนาค สู่ขวัญบ่าวสาว สู่ขวัญคนป่วย สู่ขวัญขึ้นบ้านใหม่ สู่ขวัญข้าว สู่ขวัญคนธรรมดา และสู่ขวัญควายและวัว ทั้งนี้อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ของสังคมในปัจจุบัน สัตว์และสิ่งของบางอย่างได้หมดความสำคัญในชีวิตประจำวันไปแล้ว จึงค่อยๆ เลิกไปในที่สุด
๒. คำจำกัดความ ความหมายและประเภทของการสู่ขวัญ
คำว่า บายศรี แปลว่า ข้าวที่เป็นมงคล เป็นสัญลักษณ์ของพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตตามพจนานุกรมแปลว่า ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพื่อเป็นสำรับใส่อาหารคาวหวานในพิธีสังเวยบูชาและพิธีทำขวัญต่างๆ ”
คำว่า “ขวัญ” เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่างหน้าตาปรากฏให้เห็น ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ แต่จะสังเกตได้ด้วยความรู้สึก ถ้าขวัญของผู้ใดอยู่กับตัวผู้นั้นจะมีความสุขกายสบายใจเป็นปรกติ แต่ถ้าขวัญของผู้ใดหลบลี้หนีหายผู้นั้นจะมีลักษณะอาการตรงกันข้าม พิธีบายศรีสู่ขวัญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ คนไทยเชื่อว่าเป็นพิธีกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมเพิ่มพลังใจให้เข้มแข็ง เมื่อมีขวัญที่มั่นคงพลังใจที่เข้มแข็งดีแล้ว ย่อมส่งผลให้การประกอบภาระกิจหน้าที่นั้น ๆ บรรลุผลสำเร็จได้ตามความมุ่งหมายสรุปว่า ขวัญเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมาแต่โบราณ ขวัญเป็นสิ่งที่มีอยู่กับคนที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น คนที่ตายไปแล้วจะไม่มีการกล่าวเรียกขวัญ การประกอบพิธีทำขวัญ
ประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้เครื่องเชิญขวัญที่เรียกว่า บายศรี ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๙ ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรี และมีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายประเภท เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ (ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ) มีการพันสายสิญจน์ไว้โดยรอบเพื่อใช้ผูกข้อมือผู้รับขวัญ ผู้นำทำพิธีเรียกว่า หมอขวัญ
พิธีบายศรีสู่ขวัญ บางครั้งก็เรียกว่า พิธีบายศรี, พิธีสู่ขวัญ, พิธีทำขวัญ, พิธีรับขวัญ เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของคนไทย และคนลาว ด้วยความเชื่อที่ว่า ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซึ่งมีหน้าที่รักษาประคับประคองชีวิตและติดตามเจ้าของไปทุกหนแห่ง การทำพิธีสู่ขวัญจึงเป็นการเชิญขวัญที่หนีหายไปให้เข้ามาอยู่กับตัว และเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาท
การสู่ขวัญ พิธีสู่ขวัญ” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พิธีบายศรีสู่ขวัญ” เป็นพิธีเก่าแก่ของชาวไทยแทบทุกภาค การทำพิธีอาจจะผิดแผกแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักใหญ่ๆ ยังคงเหมือนกัน พิธีสู่ขวัญนี้จะทำกันได้ในทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี พิธีสู่ขวัญจึงเป็นได้ทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ ตามความเชื่อที่ว่าคนเราเมื่อเกิดมาในโลกจะมี “ขวัญ” ประจำกายคอยช่วยพิทักษ์รักษาเจ้าของขวัญให้มีความสวัสดี ดังนั้นพิธีสู่ขวัญจึงถือเป็นประเพณีสำคัญที่จะทำพิธีเรียกขวัญให้มาสถิตอยู่กับตัว คนไทยส่วนใหญ่ยึดถือและปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมที่มีมาแต่เดิมเราจะเห็นว่าคนไทยมีการทำพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงสำคัญของชีวิต เช่น รับขวัญเด็ก ทำขวัญนาค พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับคนสำคัญ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับขวัญอยู่เป็นเนืองนิจ”

๓. วัตถุประสงค์และโอกาสที่ทำพิธี
การบายศรีสู่ขวัญ เป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวอีสา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อนเหมือนการใช้ถ้วยชาม จึงนำใบตองมาทำเป็นกระทงสำหรับใส่อาหารในพิธีการต่างๆ รวมทั้งพิธีบายศรีAnd the other one is the appearance of simulated baisri sumeru, which is that the existence of Shiva, as well as a sacrifice, it is believed to be derived from coconut cucumber egg, Brahmin motto as well as ritual circumambulation. Anointed, and these ceremonial Brahmin ceremony, both as an end.The importance of the ceremony, the ritual gift to baisri baisri to present as an important ceremony of Northeastern and Northern is about gifts and passions to achieve improved morale and discouraged. Therefore, almost any lifestyle, it's often to parallel to the present. To gift helps born Siri mongkhon Living with a strong spirit smooth better luck. Fend all bad department store from a whole lot of psychological energy called for help with the power of a strong will can overcome any disaster to gift aid causes auspicious. Make a smooth happy existence. With more luck, and may the people's desire for grim prophecy from all aspects. By reason of this gift to myself.ประวัติความเป็นมาของพิธีบายศรีนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์ซึ่งเข้ามาทางเขมร เพราะคำว่า “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลว่า ข้าวสุก ส่วนคำว่า “ศรี” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่า “สิริ” แปลว่า มิ่งขวัญ พิธีบายศรีสู่ขวัญ ยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไร ผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเริ่มมีการทำขวัญตั้งแต่เมื่อใด เพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า “ขวัญ” จะมีประจำกายของทุกคน มีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษา ขวัญเป็นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประคองชีวิต ติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่งIn the ceremony, there will be a gift to baisri important 2 are the sacrifice take gifts or baisri, according to tradition, and the yarn is held as a long enough to tie around the arm or wrist. In this arrangement, highly considered baisri, because it is a sacrifice, thaphoeida. Therefore, it must be marked with the Lasso, and then bring it stitched from banana baisri.The tradition of making gifts to the currently exist only to certain types of gifts, such as gift to newlyweds to present gifts to the Naga people. To the new home gift to present rice. To present ordinary people and to present all the cows and Buffalo this change due to the nature of the current society. Some of the animal has varies on a daily basis, and then gradually drop away in the end.2. definition and types of to giftsThe word translated as auspicious rice baisri, a symbol of the rituals involved in life, according to the dictionary means that containers, specially beautiful with banana leaves and fresh flowers to deck enter sweet smell food in the sacrifice ceremony and the ceremony made gifts. ”คำว่า “ขวัญ” เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่างหน้าตาปรากฏให้เห็น ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ แต่จะสังเกตได้ด้วยความรู้สึก ถ้าขวัญของผู้ใดอยู่กับตัวผู้นั้นจะมีความสุขกายสบายใจเป็นปรกติ แต่ถ้าขวัญของผู้ใดหลบลี้หนีหายผู้นั้นจะมีลักษณะอาการตรงกันข้าม พิธีบายศรีสู่ขวัญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ คนไทยเชื่อว่าเป็นพิธีกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมเพิ่มพลังใจให้เข้มแข็ง เมื่อมีขวัญที่มั่นคงพลังใจที่เข้มแข็งดีแล้ว ย่อมส่งผลให้การประกอบภาระกิจหน้าที่นั้น ๆ บรรลุผลสำเร็จได้ตามความมุ่งหมายสรุปว่า ขวัญเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมาแต่โบราณ ขวัญเป็นสิ่งที่มีอยู่กับคนที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น คนที่ตายไปแล้วจะไม่มีการกล่าวเรียกขวัญ การประกอบพิธีทำขวัญBaisri tradition to present a gift, invitation, called the khlaikrathong image is made with banana baisri is large, small or more exams, respectively, 5 floor, 3 7 layers as layers or 9 floors with embroidery in the Middle pole as axis. There is a sacrifice, placed in the famous egg and baisri (boiled egg) Plug on top, there are several categories, such as baisri baisri Tong. Big mouth baisri baisri Bowl (Khmer language by = rice + SI = Siri means a rice grain gifts or Glory) With thousands of Holy line up to use the recipient's wrist tie Kwan leading the ceremony called Dr. Kwan.Baisri ceremony to gifts, sometimes called the ceremony the ceremony, ceremony, gifts to baisri, make gifts, wedding gifts, accepted as one of the Thai people, traditions and people of Laos with the belief that everyone is born with an abstract one, also known as "gifts", which is responsible for maintaining life sustaining and track owner, go anywhere. Ceremony to present it as a gift, invitation that disappeared into the body and is believed to be promoting a strong will power and not to underestimate.การสู่ขวัญ พิธีสู่ขวัญ” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พิธีบายศรีสู่ขวัญ” เป็นพิธีเก่าแก่ของชาวไทยแทบทุกภาค การทำพิธีอาจจะผิดแผกแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักใหญ่ๆ ยังคงเหมือนกัน พิธีสู่ขวัญนี้จะทำกันได้ในทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี พิธีสู่ขวัญจึงเป็นได้ทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ ตามความเชื่อที่ว่าคนเราเมื่อเกิดมาในโลกจะมี “ขวัญ” ประจำกายคอยช่วยพิทักษ์รักษาเจ้าของขวัญให้มีความสวัสดี ดังนั้นพิธีสู่ขวัญจึงถือเป็นประเพณีสำคัญที่จะทำพิธีเรียกขวัญให้มาสถิตอยู่กับตัว คนไทยส่วนใหญ่ยึดถือและปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมที่มีมาแต่เดิมเราจะเห็นว่าคนไทยมีการทำพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงสำคัญของชีวิต เช่น รับขวัญเด็ก ทำขวัญนาค พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับคนสำคัญ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับขวัญอยู่เป็นเนืองนิจ”3. Objectives and the opportunity to perform ceremonyThe fair's slogan to baisri of isa
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
๑. ประวัติความเป็นมา
บายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อนเหมือนการใช้ถ้วยชาม จึงนำใบตองมาทำเป็นกระทงสำหรับใส่อาหารในพิธีการต่างๆ รวมทั้งพิธีบายศรี
และอีกประการหนึ่งคือ รูปร่างลักษณะของบายศรีที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวร ตลอดจนเครื่องสังเวยนั้นมีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์ เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ เช่น การเวียนเทียน การเจิม และพิธีการต่าง ๆ เหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้น
ความสำคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญไว้ว่า พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีที่สำคัญของชาวอีสานและชาวเหนือ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้น ดังนั้นวิถีการดำเนินชีวิตแทบทุกอย่างจึงมักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ การสู่ขวัญจะช่วยให้เกิดศิริมงคล ชีวิตอยู่ด้วยความราบรื่น จิตใจเข้มแข็ง โชคดียิ่งขึ้น ปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดี หายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง เป็นการเรียกร้องพลังทางจิต ช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็ง สามารถฟันฝ่าภัยพิบัติต่างๆ ได้ การสู่ขวัญช่วยทำให้เกิดมงคล ทำให้ดำรงอยู่ด้วยความสุขราบรื่น มีโชคลาภมากขึ้น และอาจดลปรารถนาให้ผู้ที่เคราะห์ร้ายพ้นจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ด้วยมูลเหตุแห่งการสู่ขวัญนี่เอง
ประวัติความเป็นมาของพิธีบายศรีนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์ซึ่งเข้ามาทางเขมร เพราะคำว่า “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลว่า ข้าวสุก ส่วนคำว่า “ศรี” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่า “สิริ” แปลว่า มิ่งขวัญ พิธีบายศรีสู่ขวัญ ยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไร ผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเริ่มมีการทำขวัญตั้งแต่เมื่อใด เพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า “ขวัญ” จะมีประจำกายของทุกคน มีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษา ขวัญเป็นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประคองชีวิต ติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่ง
ในการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญจะมีเครื่องใช้สำคัญอยู่ ๒ อย่าง คือเครื่องบูชาพาขวัญหรือเครื่องบายศรีตามประเพณี และด้ายดิบนำมาจับเป็นวงยาวพอที่จะผูกรอบแขนหรือรอบข้อมือได้ ในการจัดเครื่องบายศรีนี้ ถือว่าเป็นของสูงเพราะเป็นเครื่องสังเวยเทพยดา ดังนั้นจะต้องจัดด้วยพานแล้วนำใบตองมาเย็บเป็นบายศรี
ประเพณีการสู่ขวัญที่ทำในปัจจุบันนี้ยังมีอยู่เพียงการสู่ขวัญบางประเภท เท่านั้น เช่น การสู่ขวัญนาค สู่ขวัญบ่าวสาว สู่ขวัญคนป่วย สู่ขวัญขึ้นบ้านใหม่ สู่ขวัญข้าว สู่ขวัญคนธรรมดา และสู่ขวัญควายและวัว ทั้งนี้อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ของสังคมในปัจจุบัน สัตว์และสิ่งของบางอย่างได้หมดความสำคัญในชีวิตประจำวันไปแล้ว จึงค่อยๆ เลิกไปในที่สุด
๒. คำจำกัดความ ความหมายและประเภทของการสู่ขวัญ
คำว่า บายศรี แปลว่า ข้าวที่เป็นมงคล เป็นสัญลักษณ์ของพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตตามพจนานุกรมแปลว่า ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพื่อเป็นสำรับใส่อาหารคาวหวานในพิธีสังเวยบูชาและพิธีทำขวัญต่างๆ ”
คำว่า “ขวัญ” เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่างหน้าตาปรากฏให้เห็น ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ แต่จะสังเกตได้ด้วยความรู้สึก ถ้าขวัญของผู้ใดอยู่กับตัวผู้นั้นจะมีความสุขกายสบายใจเป็นปรกติ แต่ถ้าขวัญของผู้ใดหลบลี้หนีหายผู้นั้นจะมีลักษณะอาการตรงกันข้าม พิธีบายศรีสู่ขวัญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ คนไทยเชื่อว่าเป็นพิธีกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมเพิ่มพลังใจให้เข้มแข็ง เมื่อมีขวัญที่มั่นคงพลังใจที่เข้มแข็งดีแล้ว ย่อมส่งผลให้การประกอบภาระกิจหน้าที่นั้น ๆ บรรลุผลสำเร็จได้ตามความมุ่งหมายสรุปว่า ขวัญเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมาแต่โบราณ ขวัญเป็นสิ่งที่มีอยู่กับคนที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น คนที่ตายไปแล้วจะไม่มีการกล่าวเรียกขวัญ การประกอบพิธีทำขวัญ
ประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้เครื่องเชิญขวัญที่เรียกว่า บายศรี ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๙ ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรี และมีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายประเภท เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ (ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ) มีการพันสายสิญจน์ไว้โดยรอบเพื่อใช้ผูกข้อมือผู้รับขวัญ ผู้นำทำพิธีเรียกว่า หมอขวัญ
พิธีบายศรีสู่ขวัญ บางครั้งก็เรียกว่า พิธีบายศรี, พิธีสู่ขวัญ, พิธีทำขวัญ, พิธีรับขวัญ เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของคนไทย และคนลาว ด้วยความเชื่อที่ว่า ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซึ่งมีหน้าที่รักษาประคับประคองชีวิตและติดตามเจ้าของไปทุกหนแห่ง การทำพิธีสู่ขวัญจึงเป็นการเชิญขวัญที่หนีหายไปให้เข้ามาอยู่กับตัว และเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาท
การสู่ขวัญ พิธีสู่ขวัญ” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พิธีบายศรีสู่ขวัญ” เป็นพิธีเก่าแก่ของชาวไทยแทบทุกภาค การทำพิธีอาจจะผิดแผกแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักใหญ่ๆ ยังคงเหมือนกัน พิธีสู่ขวัญนี้จะทำกันได้ในทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี พิธีสู่ขวัญจึงเป็นได้ทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ ตามความเชื่อที่ว่าคนเราเมื่อเกิดมาในโลกจะมี “ขวัญ” ประจำกายคอยช่วยพิทักษ์รักษาเจ้าของขวัญให้มีความสวัสดี ดังนั้นพิธีสู่ขวัญจึงถือเป็นประเพณีสำคัญที่จะทำพิธีเรียกขวัญให้มาสถิตอยู่กับตัว คนไทยส่วนใหญ่ยึดถือและปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมที่มีมาแต่เดิมเราจะเห็นว่าคนไทยมีการทำพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงสำคัญของชีวิต เช่น รับขวัญเด็ก ทำขวัญนาค พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับคนสำคัญ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับขวัญอยู่เป็นเนืองนิจ”

๓. วัตถุประสงค์และโอกาสที่ทำพิธี
การบายศรีสู่ขวัญ เป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวอีสา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้เครื่องเชิญขวัญที่เรียกว่าบายศรีทำด้วยใบตองรูปคล้ายกระทงเป็นชั้นจะมีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับเป็นกันชั้น๕ชั้น๗ชั้นค็อคชั้นมีเสาปักตรงกลางเป็นแกนซ้งโคย1. The history
.Offering is the presumption that was invented by the belief of the Brahmin Considering the banana to artificial rice offering. Because of the banana leaf is clean without blemish of the old food dirty like a crockery,As well as พิธีบายศรี
.On the other hand. Appearance of the offering that simulated caliph, which is the presence of Shiva. As well as the sacrifice that belief bias from Brahmin, such as egg, cucumber, coconut, including ritual, such as cross midband.These various formalities and Brahmins officiate at all!The importance of baci that baci ceremony is important, the northeast and the north. It is about the present and the mind. To achieve good morale and satisfaction.The welcome back to the destroyer life with smooth, strong mind. Good luck more better fend bad recovered from all planets; As a demanding mental powers. Help is glad strong.. welcome back to help cause. The live with happiness smooth a fortune more. And may copy wish who victims from all planets of all. With the cause of welcome back here
.The history of พิธีบายศรี there is evidence, of course. But the presumption that there should be from the period By offering this attitude from the Brahmin should believe that come in Khmer, because "" Bye "is a Khmer language translator.The word "Si" comes from Sanskrit. Match the Pali, "glory" means the mascot บายศ the welcome back! No one confirmed clearly came about. Those who compensate or called หมอขวัญ.Just assumed that I have from the primitive age. The beliefs of the people believed that all people born in the world has the nature เรียกกัน. "The gift", a regular body of everyone. Responsible for preservation.Track owners everywhere!In the editions are appliances important 2 example is made take a gift or air offering tradition. Yarn and brought alive long enough to tie around the arm or band around the wrist. The machine offering.So they will be arranged by the pan and bring to sew a banana Baisi
.Welcome back to the tradition that, at present, there is only some kind of welcome back only, such as the Naga. สู่ขวัญบ่าวสาว welcome back. Welcome back to the patient. Welcome back to the new house. Welcome back to rice. Welcome back to normal and welcome back to Buffalo and cow.Of the society at present. Animals and things all the importance in everyday life. It gradually stopped finally
.2. Definitions and types of welcome back!"Offering means that rice is favorable. As a symbol of the ritual associated with life in accordance with the translation dictionary. A container arranged beautifully decorated specially banana and fresh flowers."
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: