สรุปสาระสำคัญกฎหมายอาญาหัวข้อที่ต้องศึกษา 1. ลักษณะการใช้กฎหมายอาญาในก การแปล - สรุปสาระสำคัญกฎหมายอาญาหัวข้อที่ต้องศึกษา 1. ลักษณะการใช้กฎหมายอาญาในก ภาษาอินโดนีเซี วิธีการพูด

สรุปสาระสำคัญกฎหมายอาญาหัวข้อที่ต้อ

สรุปสาระสำคัญกฎหมายอาญา

หัวข้อที่ต้องศึกษา

1. ลักษณะการใช้กฎหมายอาญาในการบังคับ
2. ความรับผิดทางอาญา
3. ความผิดอาญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ
กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชน มีลักษณะการใช้บังคับดังนี้
- ต้องมีบทบัญญัติโดยชัดแจ้งกฎหมายอาญาจะต้องมีบทบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยบัญญัติความผิดและโทษไว้ในขณะกระทำ และบทบัญญัตินั้นต้องชัดเจนปราศจากการคลุมเครือมิฉะนั้นจะใช้บังคับมิได้ เพราะการลงโทษเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลโดยตรง ฉะนั้น ลักษณะการใช้บังคับกฎหมายอาญาจึงถือหลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ไม่มีกฎหมาย โดยเคร่งครัด
- ต้องตีความโดยเคร่งครัดบางกรณีการตีความตามตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวยังไม่อาจทำเข้าใจความหมายที่แท้จริงของบทบัญญัติแห่งกฎหมายได้ ด้วยเหตุนี้จึงต้องคำนึงถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายด้วย นอกจากนี้ การตีความตามตัวอักษรอย่างเคร่งครัดดังกล่าว มีความหมายเฉพาะการเคร่งครัดในด้านที่เป็นคุณแก่ผู้กระทำเท่านั้น มิใช่ในทางที่จะเป็นโทษแก่ผู้กระทำ ในการตีความกฎหมายอาญานั้น จะนำหลักการเทียบกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง มาใช้บังคับให้เป็นผลร้ายแก่ผู้กระทำมิได้ หลักการเทียบเคียงนั้น ใช้เฉพาะในกฎหมายแพ่งดังที่มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 4 อย่างไรก็ดีหลักการเทียบเคียงดังกล่าวอาจนำมาใช้เพื่อเป็นคุณหรือเป็นประโยชน์แก่ผู้กระทำได้
- ย้อนหลังเป็นผลร้ายมิได้ แต่หากการใช้บังคับกฎหมายอาญาย้อนหลังแล้วเกิดผลดีแก่ผู้กระทำผิดนั้นสามารถใช้บังคับได้ กรณี คือ
1. กรณีกฎหมายใหม่ยกเลิกความผิดตามกฎหมายเก่า
2. กรณีกฎหมายใหม่แตกต่างจากกฎหมายเก่า
ความรับผิดทางอาญา
ในการรับผิดทางอาญา ต้องมีครบทั้ง 2 องค์ประกอบ คือ
1. องค์ประกอบภายนอก
2. องค์ประกอบภายใน
ข้อสังเกต มีเพียงบางความผิดเท่านั้น ที่ต้องรับผิดแม้ไม่ครบองค์ประกอบ กล่าวคือ มีแต่องค์ประกอบภายนอกเท่านั้น ก็ถือเป็นความผิด (รายละเอียดขอให้ติดตามในเนื้อหา)
1. องค์ประกอบภายนอก คือ องค์ประกอบภายนอกของความผิดแต่ละฐาน เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาย (มาตรา 288) จะประกอบด้วย ผู้กระทำ การกระทำและวัตถุแห่งการกระทำ คือ
1. ผู้ใด
2.ฆ่า
3.ผู้อื่น
2. องค์ประกอบภายใน

1. เจตนา พอแบ่งได้ 2 ความหมายคือ

1.1 เจตนาประสงค์ต่อผล หมายความว่า มุ่งหมายหรือประสงค์ต่อผลโดยตรง ในความผิดต่อชีวิต และความผิดต่อร่างกาย ในการวินิจฉัยต้องใช้หลักกรรมเป็นเครื่องชี้เจตนาเป็นแนวทางในการพิจารณา เช่น ถ้าผู้กระทำใช้ปืนยิงไปที่ผู้เสียหาย โดยยิงไปที่อวัยวะสำคัญ ๆ ต้องถือว่าประสงค์หรือมุ่งหมายให้ผู้เสียหายตาย แต่ถ้าใช้มีดเล็กๆ แทงทีเดียวในเวลาค่ำมืด ขณะที่มองเห็นไม่ถนัด อาจต้องถือว่าประสงค์หรือมุ่งหมายต่ออันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้เสียหายเท่านั้นก็ได้

1.2 เจตนาเล็งเห็นผล หมายความว่า ผู้กระทำไม่ประสงค์ต่อผลแต่เล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลอย่างแน่นอน เท่าที่จิตใจของบุคคลในฐานะเช่นเดียวกับผู้กระทำโดยปกติเล็งเห็นได้ในการวินิจฉัยนั้น ให้พิจารณาถึงเรื่องประสงค์ต่อผลก่อน หากพิจารณาเห็นว่าผู้กระทำไม่ประสงค์ต่อผล จึงค่อยมาพิจารณาต่อไปว่าผู้กระทำเล็งเห็นผลหรือไม่ เจตนาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลก็มีผลทางกฎหมายอย่างเดียวกันกล่าวคือ ถ้าเป็นเจตนาฆ่าประเภทประสงค์ต่อผล ผู้กระทำก็ผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามปอ. มาตรา 288 ถ้าเป็นเจตนาฆ่าประเภทเล็งเห็นผล ผู้กระทำก็ผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา ตาม ปอ. มาตรา 288 เช่นเดียวกัน

2. เจตนาพิเศษ

เจตนาพิเศษ คือ มูลเหตุจูงใจในการกระทำความผิด เจตนาพิเศษเป็นคนละกรณีกับเจตนาธรรมดา เจตนาธรรมดาคือประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล ความผิดใดกฎหมายต้องเจตนาพิเศษ ก็จะบัญญัติถ้อยคำที่แสดงว่าเป็นเจตนาพิเศษไว้ในองค์ประกอบของความผิดนั้น ๆ โดยตรง เช่น คำว่า โดยทุจริต ถือว่าเป็นเจตนาพิเศษของความผิดฐานลักทรัพย์(ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334) คำว่า เพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารที่แท้จริง เป็นเจตนาพิเศษของความผิดฐานปลอมเอกสาร(มาตรา 264) ในการพิจารณาถ้อยคำนั้น ๆ เป็นเจตนาพิเศษหรือไม่ให้สังเกตที่คำว่า เพื่อ………..หรือคำว่า โดยทุจริต เป็นต้น ความผิดที่กฎหมายต้องการเจตนาพิเศษ เช่น ความผิดฐานปลอมเอกสาร(มาตรา 264) หากผู้กระทำมีแต่เจตนาธรรมดา เช่น ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลเท่านั้น ผู้กระทำก็ยังไม่มีความผิด โดยถือว่าขาดองค์ประกอบภายใน แต่ถ้าความผิดมาตรา นั้น ๆ กฎหมายไม่ต้องการเจตนาพิเศษ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาตาม มาตรา 288 เพียงแต่ผู้กระทำมีเจตนาธรรมดา กล่าวคือ ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล ผู้กระทำก็มีความผิดแล้ว

3. ประมาท

การกระทำโดยประมาท ตามปอ. มาตรา 59 วรรค 4 มีหลักเกณฑ์ดังนี้

1. มิใช่เป็นการกระทำความผิดโดยเจตนา

2. กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์

3. ผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ภาษาอินโดนีเซี) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Ringkasan hukum pidanaTopik-topik yang mempelajari 1. hukum pidana berlaku. 2. pidana. 3. kejahatan terlibat perakitan profesi Hukum adalah hukum publik adalah penggunaan kekuatan sebagai berikut: -Harus memiliki ketentuan-ketentuan eksplisit untuk hukum pidana tidak harus ketentuan-ketentuan yang ditulis oleh ketentuan dan hukuman, sementara ketentuan undang-undang dan itu harus jelas, tanpa setiap ambiguitas, jika tidak akan memaksa Mizuho. Karena hukuman adalah masalah yang mempengaruhi hak-hak pribadi dan kebebasan langsung. Melambangkan prinsip-prinsip hukum pidana wajib, itu dianggap tidak bersalah. Ada tidak ada hukuman, tidak ada hukum yang ketat. -Kasus tertentu harus ketat ditafsirkan, ditafsirkan secara literal, tapi sendiri juga mungkin tidak mengerti makna yang sesungguhnya dari undang-undang. Untuk alasan ini, sangat penting untuk mempertimbangkan maksud hukum dengan. Selain penafsiran harfiah seperti ketat. Bermakna hanya dalam sisi pelanggar hanya. Sebuah hunian dengan cara yang melawan pelanggar. Dalam interpretasi dari prinsip-prinsip hukum pidana, terutama dekat setara dengan hukum menggunakan kekuatan yang mematikan sebagai tamu. Prinsip yang sebanding untuk it. Gunakan hanya dalam hukum sipil disediakan untuk perdata dan komersil kode, Bagian 4, namun, prinsip setara, ini dapat digunakan untuk menjadi berguna untuk Anda atau tindakan. -Reverse buruk, tetapi jika hukum pidana berlaku surut, maka para pelanggarnya sanksi wajib. Kasus ini. 1. jika undang-undang baru membatalkan kesalahan menurut hukum lama. 2. jika undang-undang baru ini berbeda dari hukum lama. Tanggung jawab pidana.Pada pertanggungjawaban pidana harus memiliki dua unsur, yaitu, 1. eksternal elemen. 2. unsur-unsur internal. Ada beberapa kesalahan hanya. Meskipun tidak semua unsur-unsur, yaitu tetapi unsur-unsur eksternal hanya diperlakukan sebagai bersalah (rincian untuk mengikuti di konten). 1. sebuah elemen eksternal merupakan elemen di luar setiap basis, seperti pembunuhan (Pasal 288) akan terdiri dari tindakan-tindakan tersebut. Tindakan dan tindakan properti objek. 1. setiap orang 2 membunuh. 3. lain-lain 2. unsur-unsur internal. 1. niat cukup, dibagi menjadi 2 berarti 1.1 เจตนาประสงค์ต่อผล หมายความว่า มุ่งหมายหรือประสงค์ต่อผลโดยตรง ในความผิดต่อชีวิต และความผิดต่อร่างกาย ในการวินิจฉัยต้องใช้หลักกรรมเป็นเครื่องชี้เจตนาเป็นแนวทางในการพิจารณา เช่น ถ้าผู้กระทำใช้ปืนยิงไปที่ผู้เสียหาย โดยยิงไปที่อวัยวะสำคัญ ๆ ต้องถือว่าประสงค์หรือมุ่งหมายให้ผู้เสียหายตาย แต่ถ้าใช้มีดเล็กๆ แทงทีเดียวในเวลาค่ำมืด ขณะที่มองเห็นไม่ถนัด อาจต้องถือว่าประสงค์หรือมุ่งหมายต่ออันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้เสียหายเท่านั้นก็ได้ 1.2 maksud meramalkan efek berarti bahwa tindakan tidak mempengaruhi, tetapi tujuan untuk melihat apakah efek memang. Sejauh pikiran orang dalam posisi seperti biasanya aktor-aktor yang diramalkan dalam diagnosis. Mempertimbangkan hasil tujuan sebelum. Jika kita menganggap bahwa tindakan tidak mempengaruhi berikut dianggap Apakah tindakan-tindakan yang diramalkan, atau tidak. Maksud, tujuan atau efek tak terduga, memiliki efek hukum yang sama, yaitu jika tujuan adalah untuk membunuh efek tujuan kategori. Salah pelaku pembunuhan sengaja sebagai kelas dasar, Bagian 288 jika niat untuk membunuh efek kategori yang diramalkan. Salah pelaku pembunuhan sengaja sebagai kelas dasar, Bagian 288 juga. 2. เจตนาพิเศษเจตนาพิเศษ คือ มูลเหตุจูงใจในการกระทำความผิด เจตนาพิเศษเป็นคนละกรณีกับเจตนาธรรมดา เจตนาธรรมดาคือประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล ความผิดใดกฎหมายต้องเจตนาพิเศษ ก็จะบัญญัติถ้อยคำที่แสดงว่าเป็นเจตนาพิเศษไว้ในองค์ประกอบของความผิดนั้น ๆ โดยตรง เช่น คำว่า โดยทุจริต ถือว่าเป็นเจตนาพิเศษของความผิดฐานลักทรัพย์(ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334) คำว่า เพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารที่แท้จริง เป็นเจตนาพิเศษของความผิดฐานปลอมเอกสาร(มาตรา 264) ในการพิจารณาถ้อยคำนั้น ๆ เป็นเจตนาพิเศษหรือไม่ให้สังเกตที่คำว่า เพื่อ………..หรือคำว่า โดยทุจริต เป็นต้น ความผิดที่กฎหมายต้องการเจตนาพิเศษ เช่น ความผิดฐานปลอมเอกสาร(มาตรา 264) หากผู้กระทำมีแต่เจตนาธรรมดา เช่น ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลเท่านั้น ผู้กระทำก็ยังไม่มีความผิด โดยถือว่าขาดองค์ประกอบภายใน แต่ถ้าความผิดมาตรา นั้น ๆ กฎหมายไม่ต้องการเจตนาพิเศษ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาตาม มาตรา 288 เพียงแต่ผู้กระทำมีเจตนาธรรมดา กล่าวคือ ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล ผู้กระทำก็มีความผิดแล้ว 3. ประมาทการกระทำโดยประมาท ตามปอ. มาตรา 59 วรรค 4 มีหลักเกณฑ์ดังนี้1. มิใช่เป็นการกระทำความผิดโดยเจตนา2. กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์3. ผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: