งานแข่งเรือยาวประเพณีจังหวัดพิจิตรประวัติ / ความเป็นมา ประเพณีการแข่งเ การแปล - งานแข่งเรือยาวประเพณีจังหวัดพิจิตรประวัติ / ความเป็นมา ประเพณีการแข่งเ อังกฤษ วิธีการพูด

งานแข่งเรือยาวประเพณีจังหวัดพิจิตรป

งานแข่งเรือยาวประเพณีจังหวัดพิจิตร
ประวัติ / ความเป็นมา
ประเพณีการแข่งเรือพายมีมาตั้งแต่อดีตกาล ของไทยนี้สืบได้ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมักจัดกันในเดือน 11 และถือเป็นพระราชพิธีประจำเดือน มูลเหตุที่ถือเอาเดือน 11 เป็นเดือนที่ต้องแข่งเรือเพราะในเดือน 11 นั้นน้ำเหนือไหลบ่าลงมา จนกระทั่งคนสมัยก่อนเอ่ยขานเป็นคำกลอนจนติดปากว่า "เดือนสิบเอ็ดน้ำนอง เดือนสิบสองน้ำทรง" ทั้งนี้เพราะเดือน 11 น้ำท่วมเต็ม พอถึงเดือน 12 น้ำจะทรงตัวและค่อยๆ ลดลงตามลำดับ แต่ในสมัยปัจจุบันย่อมขึ้นอยู่กับธรรมชาติ ปีใดที่น้ำไม่ยอมลดลงในเดือน 12 ย่อมกระทบกระเทือนถึงการเก็บเกี่ยวข้าวในนาของประชาราษฎร์ ฉะนั้น เรื่องเกี่ยวกับน้ำนี้พระมหากษัตริย์ไทยในสมัยโบราณจึงถือเป็นพระราชพิธีต้องกระทำ เรียกว่า "พิธีไล่น้ำ" (พิธีไล่น้ำเป็นพิธีของพราหมณ์กระทำในเดือน 11) ในฤดูน้ำท่วมนี้ประชาชนก็มีการแข่งเรือ ซึ่งถือเป็นกีฬาของไทยสมัยโบราณอย่างหนึ่งแต่จะเริ่มยุคใดสมัยใดยังไม่ปรากฏหลักฐาน
ในประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยา มีกล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า ในแผ่นดินของพระเอกาทศรถได้โปรดให้มีการแข่งเรือของพวกทหารขึ้น การแข่งเรือครั้งนั้นมีจุดประสงค์ในการซ้อมฝีพาย และมีการให้รางวัลแก่เรือที่ชนะด้วย กองทัพเรือที่เข้มแข็งที่สุดของไทยเราก็คงจะได้แก่สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งเรือเร็วที่ใช้ในสมัยนั้นได้แก่ เรือยาวที่เราเห็นอยู่ในปัจจุบัน คือ เมื่อครั้งพระยาจีนจันตุคิดหนีออกจากกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถก็ใช้เรือเร็วออกติดตามจนทัน และได้รบกันเป็นสามารถ
เมื่อบาทหลวงเดอชัวซีย์ ผู้ช่วยราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้เข้ามาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตามจดหมายเหตุรายวัน กล่าวถึงการแข่งเรือหลวงตอนหนึ่งว่า...
"เรือพระที่นั่งนั้นวิจิตรรจนาสง่างามยิ่งนัก สุดที่จะพรรณนาในให้ท่านฟังโดยถ้วนถี่ ได้มีฝีพายประจำเรือประมาณ 150 คน ถือพายปิดทองทุกคน พระเจ้ากรุงสยามทรงเครื่องฉลองพระองค์ล้วนแล้วไปด้วยเพชรพลอย ผีพายใส่เสื้อและสวมหมวกสีทอง เครื่องประดับก็ปิดทองด้วยเหมือนกัน ข้าพเจ้าจะพรรณาให้ท่านฟังว่าพยุหโดยชลมารค ครั้งนี้เป็นพิธีอะไรกันแน่.....
"พระเจ้ากรุงสยามเสด็จประทับทรงสำราญพระอิริยาบถ ณ พระตำหนักที่ประทับแห่งหนึ่งและเสวยพระกระยาหารที่ตำหนักนั้น พอเสวยแล้วโปรดฯ ให้เรือขุนนางที่ยศเสมอกันเข้าเทียบเป็นคู่ๆ พายแข่งกันไปยังกลุ่ม ถ้าเรือลำใดถึงพระตำหนักน้ำที่ราชวังกรุงศรีอยุธยาก่อนก็จะได้รับพระราชทานรางวัลอย่างงาม การแข่งเรือนี้เป็นสิ่งที่น่าดูมาก ฝีพายทุกคนมีความชำนิชำนาญ พายเรือคล่องแคล่ว ว่องไวยิ่งนัก การแข่งเรือครั้งนี้ ฝีพายต้องพายเรือทวนน้ำขึ้นไปตามแม่น้ำใหญ่เรือพระที่นั่งที่ทรงของพระเจ้ากรุงสยาม ถึงก่อนฝีพายจึงได้รับพระราชทานรางวัลคนละ 1 ชั่ง การแข่งเรือครั้งนี้มีระยะ 2 ลีก"
การเสด็จประพาสบางนางอิน (บางปะอิน) ของพระเจ้าอยู่หัวครั้งนี้ทางราชการรู้ว่าต้องมีการแข่งเรืออย่างแน่นอน ฉะนั้นต่างก็หาฝีพายที่มีฝีมือเข้มแข็งลงเรือ เพื่อจะได้รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความสำคัญของข้อความน้ำจึงน่าเป็นข้อสนับสนุนได้ว่า พระเจ้าแผ่นดินในสมัยโบราณนิยมการแข่งเรือเป็นอย่างมากทีเดียว
การแข่งเรือในบางกรณีดูเหมือนเป็นการเสี่ยงทายเรือมากกว่าสนุกสนาน ดังในพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระราชพิธีสิบสองเดือนว่า พระราชพิธีเดือนสิบเอ็ดในกฏมณเฑียรบาลว่ามีพิธีแข่งเรือ ความพิสดารในกฎมณเฑียรบาล กล่าวได้ดังนี้
"เดือนสิบเอ็ด การอาษยุธพิธี มีโหม่งครุ่มซ้ายขวาระบำมโหรทึกอินทเภรีดนตรี เช้าทรงพระมหามงกุฎราชาปโภค กลางวันทรงพระสุพรรณมาลา เย็นทรงพระมาลาสุกหร่ำสะพักชมพู สมเด็จพระอัครมเหสีพระภรรยาทรงพระสุวรรณมาลา นุ่งแพรลายทองทรงเสื้อ พระอัครชายาทรงพระมาลาราบ นุ่งแพรดารากรทรงเสื้อ พระสนมใส่สนองเกล้าสะพักสองบ่า สมรรถไชยเรือต้น ไกรสรมุขเรือสมเด็จพระอัครมเหสีสมรรถไชยไกรสรมุขเป็นเรือเสี่ยงทาย ถ้าสมรรถไชยแพ้ไซร้ ข้าวเหลือเกลืออิ่ม สุขเกษมเปรมประชา ถ้าสมรรถไชยชนะไซร้ จะมียุค"
จะเห็นว่าเรือสมรรถไชยและเรือไกรสรมุขเป็นเรือเสี่ยงทายตามกล่าว แต่ความจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ เรือสมรรถไชยเป็นเรือต้น ซึ่งเป็นเรือของพระเจ้าแผ่นดิน เรือไกรสรมุขเป็นเรือของพระอัครมเหสี ฉะนั้นการเสี่ยงทายเรือไกรสรมุขต้องชนะเสมอไป เพราะเป็นการปลอบขวัญประชาชน แสดงถึงความเอาอกเอาใจต่อพระมเหสีด้วย
เห็นได้ว่า ประเพณีการแข่งเรือ ตามประเพณีหลวงสมัยโบราณที่ได้กระทำกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา พอมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ประเพณีนี้ไม่มีการปฏิบัติกัน แต่ก็ไม่ถึงกับหายสาบสูญไป มีการแข่งขันกันบ้าง สำหรับการแข่งเรือสมัยรัตนโกสินทร์ที่ต้องมีการจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ คือ การแข่งเรือวังหลวง กับวังหน้า แต่การแข่งขันครั้งนั้นไม่บริสุทธิ์ ถือว่ามีเล่ห์เหลี่ยม เกือบทำให้เกิดเรื่องยุ่งยาก
เรื่องมีอยู่ว่า ในแผ่นดินสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้มีการแข่งเรือระหว่างวังหลวงกับวังหน้าขึ้น ครั้งหนึ่งเรือวังหลวงชื่อทองปลิว เรือวังหน้าชื่อ มังกร เมื่อจับคู่เทียบฝีพายกันแล้วเห็นว่าทัดเทียมกันจะแข่งขันกันได้ก็ตกลง แต่ก่อนที่จะมีการลงมือแข่งขันได้มีข้าราชการหลวงผู้หนึ่งสืบทราบว่า ทางวังหน้าเล่นไม่ซื่อ จึงได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลว่ากรมพระราชวังบวรฯ จัดฝีพายที่แข็งแรงซ่อนไว้ เวลาแข่งจะเอาพวกนี้ออกพายแข่ง เมื่อได้ทรงทราบจึงมีพระดำรัสว่า เล่นอย่างนี้จะเล่นด้วยอย่างไร จึงให้เลิกการแข่งเรือคราวนั้นเสีย”
จุดประสงค์ของการแข่งเรือนั้นสรุปว่า ในสมัยโบราณจัดเป็นประเพณีหลวงและเป็นการเสี่ยงทาย และในขณะเดียวกันเป็นการฝึกฝีพาย ต่อมาประชาชนธรรมดาจึงได้แข่งเรือขึ้นบ้าง จนบางแห่งถือเป็นประเพณีที่ต้องมีการแข่งขันกันเป็นประจำ ต่อมามีการขุดเรือยาวขึ้นประจำวัด และมีการฝึกซ้อมอย่าง จริงจังเพราะว่าการแข่งขันนั้น ต้องมีผู้แพ้และชนะ การแข่งเรือถือเป็นประเพณีที่นิยมกันแทบทุกภาค เช่น
ภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดพิจิตร พิษณุโลก น่าน
ภาคกลาง ได้แก่ จังหวัด อ่างทอง ราชบุรี ชัยนาท พระนค
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Long boat racing Festival pichit jobs.History/milestones ประเพณีการแข่งเรือพายมีมาตั้งแต่อดีตกาล ของไทยนี้สืบได้ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมักจัดกันในเดือน 11 และถือเป็นพระราชพิธีประจำเดือน มูลเหตุที่ถือเอาเดือน 11 เป็นเดือนที่ต้องแข่งเรือเพราะในเดือน 11 นั้นน้ำเหนือไหลบ่าลงมา จนกระทั่งคนสมัยก่อนเอ่ยขานเป็นคำกลอนจนติดปากว่า "เดือนสิบเอ็ดน้ำนอง เดือนสิบสองน้ำทรง" ทั้งนี้เพราะเดือน 11 น้ำท่วมเต็ม พอถึงเดือน 12 น้ำจะทรงตัวและค่อยๆ ลดลงตามลำดับ แต่ในสมัยปัจจุบันย่อมขึ้นอยู่กับธรรมชาติ ปีใดที่น้ำไม่ยอมลดลงในเดือน 12 ย่อมกระทบกระเทือนถึงการเก็บเกี่ยวข้าวในนาของประชาราษฎร์ ฉะนั้น เรื่องเกี่ยวกับน้ำนี้พระมหากษัตริย์ไทยในสมัยโบราณจึงถือเป็นพระราชพิธีต้องกระทำ เรียกว่า "พิธีไล่น้ำ" (พิธีไล่น้ำเป็นพิธีของพราหมณ์กระทำในเดือน 11) ในฤดูน้ำท่วมนี้ประชาชนก็มีการแข่งเรือ ซึ่งถือเป็นกีฬาของไทยสมัยโบราณอย่างหนึ่งแต่จะเริ่มยุคใดสมัยใดยังไม่ปรากฏหลักฐาน In the history of the Ayutthaya period is mentioned in one of his arms had to be three cars aka rowing their soldiers. Rowing times are intended to deliver and reward paddlers boat won. A strong Navy of Thailand, we would include the reign of King naresuan. The boat, which was used in those days.: Long boat that we see today is the last time the Chinese Chan TU thought Prince escape from the period. King naresuan and the King's car, aka speed boats off the track until you are able to catch up and war. เมื่อบาทหลวงเดอชัวซีย์ ผู้ช่วยราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้เข้ามาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตามจดหมายเหตุรายวัน กล่าวถึงการแข่งเรือหลวงตอนหนึ่งว่า... "เรือพระที่นั่งนั้นวิจิตรรจนาสง่างามยิ่งนัก สุดที่จะพรรณนาในให้ท่านฟังโดยถ้วนถี่ ได้มีฝีพายประจำเรือประมาณ 150 คน ถือพายปิดทองทุกคน พระเจ้ากรุงสยามทรงเครื่องฉลองพระองค์ล้วนแล้วไปด้วยเพชรพลอย ผีพายใส่เสื้อและสวมหมวกสีทอง เครื่องประดับก็ปิดทองด้วยเหมือนกัน ข้าพเจ้าจะพรรณาให้ท่านฟังว่าพยุหโดยชลมารค ครั้งนี้เป็นพิธีอะไรกันแน่..... "พระเจ้ากรุงสยามเสด็จประทับทรงสำราญพระอิริยาบถ ณ พระตำหนักที่ประทับแห่งหนึ่งและเสวยพระกระยาหารที่ตำหนักนั้น พอเสวยแล้วโปรดฯ ให้เรือขุนนางที่ยศเสมอกันเข้าเทียบเป็นคู่ๆ พายแข่งกันไปยังกลุ่ม ถ้าเรือลำใดถึงพระตำหนักน้ำที่ราชวังกรุงศรีอยุธยาก่อนก็จะได้รับพระราชทานรางวัลอย่างงาม การแข่งเรือนี้เป็นสิ่งที่น่าดูมาก ฝีพายทุกคนมีความชำนิชำนาญ พายเรือคล่องแคล่ว ว่องไวยิ่งนัก การแข่งเรือครั้งนี้ ฝีพายต้องพายเรือทวนน้ำขึ้นไปตามแม่น้ำใหญ่เรือพระที่นั่งที่ทรงของพระเจ้ากรุงสยาม ถึงก่อนฝีพายจึงได้รับพระราชทานรางวัลคนละ 1 ชั่ง การแข่งเรือครั้งนี้มีระยะ 2 ลีก" การเสด็จประพาสบางนางอิน (บางปะอิน) ของพระเจ้าอยู่หัวครั้งนี้ทางราชการรู้ว่าต้องมีการแข่งเรืออย่างแน่นอน ฉะนั้นต่างก็หาฝีพายที่มีฝีมือเข้มแข็งลงเรือ เพื่อจะได้รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความสำคัญของข้อความน้ำจึงน่าเป็นข้อสนับสนุนได้ว่า พระเจ้าแผ่นดินในสมัยโบราณนิยมการแข่งเรือเป็นอย่างมากทีเดียว การแข่งเรือในบางกรณีดูเหมือนเป็นการเสี่ยงทายเรือมากกว่าสนุกสนาน ดังในพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระราชพิธีสิบสองเดือนว่า พระราชพิธีเดือนสิบเอ็ดในกฏมณเฑียรบาลว่ามีพิธีแข่งเรือ ความพิสดารในกฎมณเฑียรบาล กล่าวได้ดังนี้ "เดือนสิบเอ็ด การอาษยุธพิธี มีโหม่งครุ่มซ้ายขวาระบำมโหรทึกอินทเภรีดนตรี เช้าทรงพระมหามงกุฎราชาปโภค กลางวันทรงพระสุพรรณมาลา เย็นทรงพระมาลาสุกหร่ำสะพักชมพู สมเด็จพระอัครมเหสีพระภรรยาทรงพระสุวรรณมาลา นุ่งแพรลายทองทรงเสื้อ พระอัครชายาทรงพระมาลาราบ นุ่งแพรดารากรทรงเสื้อ พระสนมใส่สนองเกล้าสะพักสองบ่า สมรรถไชยเรือต้น ไกรสรมุขเรือสมเด็จพระอัครมเหสีสมรรถไชยไกรสรมุขเป็นเรือเสี่ยงทาย ถ้าสมรรถไชยแพ้ไซร้ ข้าวเหลือเกลืออิ่ม สุขเกษมเปรมประชา ถ้าสมรรถไชยชนะไซร้ จะมียุค"
จะเห็นว่าเรือสมรรถไชยและเรือไกรสรมุขเป็นเรือเสี่ยงทายตามกล่าว แต่ความจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ เรือสมรรถไชยเป็นเรือต้น ซึ่งเป็นเรือของพระเจ้าแผ่นดิน เรือไกรสรมุขเป็นเรือของพระอัครมเหสี ฉะนั้นการเสี่ยงทายเรือไกรสรมุขต้องชนะเสมอไป เพราะเป็นการปลอบขวัญประชาชน แสดงถึงความเอาอกเอาใจต่อพระมเหสีด้วย
เห็นได้ว่า ประเพณีการแข่งเรือ ตามประเพณีหลวงสมัยโบราณที่ได้กระทำกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา พอมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ประเพณีนี้ไม่มีการปฏิบัติกัน แต่ก็ไม่ถึงกับหายสาบสูญไป มีการแข่งขันกันบ้าง สำหรับการแข่งเรือสมัยรัตนโกสินทร์ที่ต้องมีการจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ คือ การแข่งเรือวังหลวง กับวังหน้า แต่การแข่งขันครั้งนั้นไม่บริสุทธิ์ ถือว่ามีเล่ห์เหลี่ยม เกือบทำให้เกิดเรื่องยุ่งยาก
เรื่องมีอยู่ว่า ในแผ่นดินสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้มีการแข่งเรือระหว่างวังหลวงกับวังหน้าขึ้น ครั้งหนึ่งเรือวังหลวงชื่อทองปลิว เรือวังหน้าชื่อ มังกร เมื่อจับคู่เทียบฝีพายกันแล้วเห็นว่าทัดเทียมกันจะแข่งขันกันได้ก็ตกลง แต่ก่อนที่จะมีการลงมือแข่งขันได้มีข้าราชการหลวงผู้หนึ่งสืบทราบว่า ทางวังหน้าเล่นไม่ซื่อ จึงได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลว่ากรมพระราชวังบวรฯ จัดฝีพายที่แข็งแรงซ่อนไว้ เวลาแข่งจะเอาพวกนี้ออกพายแข่ง เมื่อได้ทรงทราบจึงมีพระดำรัสว่า เล่นอย่างนี้จะเล่นด้วยอย่างไร จึงให้เลิกการแข่งเรือคราวนั้นเสีย”
จุดประสงค์ของการแข่งเรือนั้นสรุปว่า ในสมัยโบราณจัดเป็นประเพณีหลวงและเป็นการเสี่ยงทาย และในขณะเดียวกันเป็นการฝึกฝีพาย ต่อมาประชาชนธรรมดาจึงได้แข่งเรือขึ้นบ้าง จนบางแห่งถือเป็นประเพณีที่ต้องมีการแข่งขันกันเป็นประจำ ต่อมามีการขุดเรือยาวขึ้นประจำวัด และมีการฝึกซ้อมอย่าง จริงจังเพราะว่าการแข่งขันนั้น ต้องมีผู้แพ้และชนะ การแข่งเรือถือเป็นประเพณีที่นิยมกันแทบทุกภาค เช่น
ภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดพิจิตร พิษณุโลก น่าน
ภาคกลาง ได้แก่ จังหวัด อ่างทอง ราชบุรี ชัยนาท พระนค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The boat race tradition history / background of Phichit

.Traditional rowing since ancient times In this work, since the Ayutthaya period, which is usually held in the month 11 and considered to be the regular month. Cause take months 11 months to race in the month, because 11Until the old people say, a poem that phrase, "eleventh month month stagnant water" because of the flood of twelve months 11 flood in full. When the month 12 water balance and gradually declined, but at present it depends on nature.12 inevitably affect the harvest in the field of the masses, so about น้ำนี้ Thai kings in ancient times is the need to do. Called "the mischievous".11) in the flood season this people have boat races. Which is the sport of ancient one but will start any time during which still unidentified
.In the history of the Ayutthaya period. Having said that when one. In the land of พระเอกาทศรถ please a regatta of soldiers. The regatta and purpose in the boaters. The awards to the winning boat.The boat used in those days; We saw a boat currently is when times of China จันต e think escape from Sri Ayutthaya. King Naresuan the district's and speedboats off the track until it.When the pastor de an aspect, assistant ambassadors for the young king Louis XIII 14 into the Pope field cases according to experience great archival journal. Discusses the Royal Regatta episode...
."Yacht that วิจิตรรจนา elegant greatly. Best to depict in you listen carefully. The rowers ships stationed around 150 people holding the pie gilding. God has a uniform plain with precious stones, SiamJewelry gold too. I will follow you listen to and by the sea. This is the exactly the same....
."God Siam sat he happy bent at Palace residence of one and take the empty chamber. When eating, please. The boat noble rank equal to compare pairs pie race to the group.Regatta this is something very much. Rowers all have skill, rowing nimble, agile greatly. This Regatta Rowers to against the flow up the big river yacht that was of God Siam.1 weighing Regatta this phase 2 league "
.The Royal Highness bang bang pa-in bent () of king government knew that this must be a boat race. So they find the rowers skilled, strong in the boat. To get a reward from the king.The regatta is very popular in ancient times.
.In some cases, like a Boat Regatta cast more than fun. A study of King Rama V In the twelve months. The eleventh month in the KC is the boat race.Said:
."The eleventh month. The paper producer ceremony has left and right tackles the Republic of Madagascar มโหร save our agreement dance music. Breakfast is the crown of king. He came a day after dinner he Kelly Mala cooked หร่ำ body defence mechanism is pink. The wife hath division came Wan mitre.The queen had a priest Lara. Wear silk robe, she put ดารากร response body defence mechanism. Two shoulder means the boat plant Fresco boat division means fresco is a boat! If means losing one, ข้าวเหลือเกลืออิ่ม.If one has the competency chuchue era "
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: