จังหวัดพิษณุโลกจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีสำหรับพิษณุโลก ในความหมายอื่ การแปล - จังหวัดพิษณุโลกจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีสำหรับพิษณุโลก ในความหมายอื่ อังกฤษ วิธีการพูด

จังหวัดพิษณุโลกจากวิกิพีเดีย สารานุ

จังหวัดพิษณุโลก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สำหรับพิษณุโลก ในความหมายอื่น ดูที่ พิษณุโลก (แก้ความกำกวม)
บทความนี้ต้องการข้อความอธิบายความสำคัญที่กระชับ และสรุปเนื้อหาไว้ย่อหน้าแรกของบทความ

จังหวัดพิษณุโลก

ตราประจำจังหวัด



พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกำเนิดพระนเรศวร สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ หวานฉ่ำแท้กล้วยตาก ถ้ำและน้ำตกหลากตระการตา
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย พิษณุโลก
ชื่ออักษรโรมัน Phitsanulok
ชื่อไทยอื่น ๆ นครพระพิษณุโลกสองแคว, นครสระหลวงสองแคว, นครสรลวงสองแคว, สองแคว, โอฆะบุรี, จันทรบุรี
ผู้ว่าราชการ ชูชาติ กีฬาแปง
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2558)

นายกองค์การบริหาร มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2555)

ISO 3166-2
TH-65

ต้นไม้ประจำจังหวัด ปีบ
ดอกไม้ประจำจังหวัด นนทรี

ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 10,815.854 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 16)

ประชากร 858,988 คน[2] (พ.ศ. 2557)
(อันดับที่ 26)

ความหนาแน่น
79.42 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 62)

ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000
โทรศัพท์ (+66) 0 5525 8947
โทรสาร (+66) 0 5525 8559
เว็บไซต์
จังหวัดพิษณุโลก

แผนที่



________________________________________
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย



จังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน มีประวัติศาสตร์อันยาวนานควบคู่กับประเทศไทย โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันในศิลาจารึก ตำนาน นิทาน และพงศาวดาร เช่น สองแคว, สองแควทวิสาขะ และไทยวนที[ต้องการอ้างอิง]
เดิมเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองเก่าสมัยขอม อยู่ห่างจากที่ตั้งเมืองปัจจุบันลงไปทางทิศใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร เรียกว่า "เมืองสองแคว" ที่เรียกเช่นนี้ เพราะตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำน่าน กับแม่น้ำแควน้อย แต่ปัจจุบันแม่น้ำแควน้อยเปลี่ยนทางเดินออกห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 10 กิโลเมตร
ที่ตั้งตัวเมืองเก่าในปัจจุบันคือ บริเวณวัดจุฬามณี ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ของพิษณุโลก แต่เมื่อประมาณพุทธศักราช 1900 พระมหาธรรมราชาที่ 1(ลิไท) ได้โปรด ให้ย้ายเมืองสองแคว มาตั้งอยู่ ณ บริเวณตัวเมืองในปัจจุบัน และยังคงเรียกกันติดปากว่า เมืองสองแคว เรื่อยมา
เนื้อหา
[ซ่อน]
• 1สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
• 2ภูมิศาสตร์
o 2.1ที่ตั้งและอาณาเขต
o 2.2ภูมิประเทศและภูมิอากาศ
• 3ประวัติศาสตร์
o 3.1สมัยสุโขทัย
o 3.2สมัยอยุธยา
 3.2.1ด้านเศรษฐกิจ
 3.2.2ด้านศาสนา
o 3.3สมัยกรุงธนบุรี
o 3.4สมัยรัตนโกสินทร์
• 4หน่วยการปกครอง
• 5ประชากรในจังหวัด
• 6การคมนาคม
• 7การศึกษา
o 7.1อุดมศึกษา
o 7.2อาชีวศึกษา
o 7.3ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
• 8สาธารณสุข
• 9สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
• 10สถานที่ท่องเที่ยว
o 10.1อำเภอเมืองพิษณุโลก
o 10.2อำเภอวังทอง
o 10.3อำเภอนครไทย
o 10.4อำเภอวัดโบสถ์
o 10.5อำเภอชาติตระการ
o 10.6อำเภอเนินมะปราง
• 11สถานที่พัก
• 12บุคคลที่มีชื่อเสียง
o 12.1เกจิคณาจารย์ชื่อดังของจังหวัดพิษณุโลก
• 13ของดีจังหวัดพิษณุโลก
• 14อ้างอิง
• 15ดูเพิ่ม
• 16แหล่งข้อมูลอื่น
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด[แก้]
• ตราประจำจังหวัด: พระพุทธชินราช
• ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกนนทรี (Peltophorum pterocarpum)
• ต้นไม้ประจำจังหวัด: ปีบ (Millingtonia hortensis)
ภูมิศาสตร์[แก้]
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
จังหวัดพิษณุโลกตั้งอยู่ภาคเหนือตอนล่างและอยู่ในเขตภาคกลางตอนบนสุดของประเทศไทย เรียกกันว่า "เหนือล่างกลางบน" ห่างจากกรุงเทพมหานคร 368 กม. มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 10,815 ตร.กม. หรือ 6,759,909 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอพิชัย อำเภอทองแสนขัน และอำเภอน้ำปาด (จังหวัดอุตรดิตถ์) และแขวงไชยบุรี ประเทศลาว

ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอเมืองพิจิตร อำเภอวชิรบารมี อำเภอสามง่าม และอำเภอสากเหล็ก (จังหวัดพิจิตร)

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอหล่มสัก อำเภอเขาค้อ อำเภอวังโป่ง (จังหวัดเพชรบูรณ์) อำเภอด่านซ้าย และอำเภอนาแห้ว (จังหวัดเลย)

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอกงไกรลาศ อำเภอศรีสำโรง (จังหวัดสุโขทัย) และอำเภอลานกระบือ (จังหวัดกำแพงเพชร)

ภูมิประเทศและภูมิอากาศ[แก้]

ลานหินปุ่ม
ทางตอนเหนือและตอนกลางเป็นเขตเทือกเขาสูงและที่ราบสูง โดยมีเขตภูเขาสูงด้านตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งอยู่ในเขตอำเภอวังทอง อำเภอวัดโบสถ์ อำเภอเนินมะปราง อำเภอนครไทย และอำเภอชาติตระการ พื้นที่ตอนกลางมาทางใต้เป็นที่ราบ และตอนใต้เป็นที่ราบลุ่ม โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น้ำน่านและแม่น้ำยม ซึ่งเป็นแหล่งการเกษตรที่สำคัญที่สุดของจังหวัดพิษณุโลก อยู่ในเขตอำเภอบางระกำ อำเภอเมืองพิษณุโลก อำเภอพรหมพิราม อำเภอเนินมะปราง และบางส่วนของอำเภอวังทอง
จังหวัดพิษณุโลกมีลมมรสุมพัดผ่านจากทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดีย และแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น 3 ฤดู
• ฤดูร้อน ประมาณเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 32 องศาเซลเซียส
• ฤดูฝน จะเริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ปริมาณน้ำฝน เฉลี่ยประมาณปีละ 1,375 มิลลิเมตร
• ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 19 องศาเซลเซียส
[ซ่อน]ข้อมูลภูมิอากาศของจังหวัดพิษณุโลก

เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภมูิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 36.3
(97.3) 38.0
(100.4) 40.3
(104.5) 41.8
(107.2) 42.0
(107.6) 38.7
(101.7) 38.4
(101.1) 36.7
(98.1) 36.6
(97.9) 35.3
(95.5) 35.7
(96.3) 35.6
(96.1) 42
(107.6)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 31.6
(88.9) 33.9
(93) 35.9
(96.6) 37.4
(99.3) 35.6
(96.1) 33.6
(92.5) 32.8
(91) 32.3
(90.1) 32.3
(90.1) 32.3
(90.1) 31.7
(89.1) 30.9
(87.6) 33.36
(92.05)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 24.1
(75.4) 26.7
(80.1) 29.0
(84.2) 30.6
(87.1) 29.6
(85.3) 28.5
(83.3) 28.1
(82.6) 27.8
(82) 27.8
(82) 27.6
(81.7) 26.1
(79) 24.0
(75.2) 27.49
(81.49)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 18.0
(64.4) 20.8
(69.4) 23.5
(74.3) 25.3
(77.5) 25.2
(77.4) 24.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Phitsanulok provinceFrom Wikipedia, the free encyclopediaFor another meaning in Phitsanulok. A look at Phitsanulok (disambiguation) This article describes the key messages must be concise and summarize content in the first paragraph of the article.Phitsanulok province Provincial emblemPhra Buddha chinnarat superb beauty. Native-Nan plain naresuan houseboat authentic juicy bananas, sweet vacation. Caves and waterfalls, colorful, sensual.General informationThailand Phitsanulok font name.Roman name PhitsanulokThe name Phra Nakhon Phitsanulok, Thailand, other two Angolan capital pool two, Kwai Kwai, Kwai Kwai, two sonluang, two metropolitan, okha, buri buri.Governor Chu nation Chapin sports(Since 2558)Prime Chai Wiwat thanat magic administrative organization(Since 2555)ISO 3166-2TH-65Provincial tree PIPProvincial flower nonsiStatistical data.Area 10815.854 sq. km [1].(# 16)[2] the population of 858,988 people (2557)(# 26)Density.79.42 people/sq. km.(At # 62)Government CenterArea Phitsanulok City Hall. Wang Chan sub-district in mueang Phitsanulok 65000Phone: (+ 66) 00 5525 8947Fax: (+ 66) 00 5525 8559The Web site.Phitsanulok provinceMap ________________________________________ Part of the encyclopedia, country ThailandPhitsanulok is a large province located in the North Central region, and on the bottom. Has a long history, coupled with the country Thailand? By named in stone inscriptions. Legendary tales and Chronicles, such as the second, and second twin can request Thailand t loop [reference]The original old Khmer reign of Phitsanulok city is within walking distance from the current town area 5 kilometers to the South known as the "second city" like this because it is located between two rivers is the Nan River, with the River Kwai Noi River, but the current changing away from a town about 10 kilometers.The current old town area is the Temple of chulamni which is an old temple, Phitsanulok, but about 1900 a.d. lithai (Lin, Tai), please move the second city is located at Kwai today and continues to downtown areas. second city.The content. [Hide] • Provincial symbols• GeographyO 2.1 location and territory.O 2.2 topography and climate.• 3 historyO 3.1 SukhothaiO 3.2 Ayutthaya. 3.2.1 to economic religious 3.2.23.3 the reign o thonO 3.4 Bangkok• Parental unit 4.• The population in the province. 5.• 6 transport• Education 7.O 7.1 higher educationO 7.2 vocational trainingO 7.3 elementary & secondary education• Public health 8.• 9 places of leisure• Top 10 attractionsAmphoe mueang Phitsanulok 10.1 oO 10.2 Wang thong districtO 10.3 district ThailandO WAT bot District 10.4Amphoe chat trakan 10.5 oAmphoe noen maprang 10.6 o• 11 accommodation• 12 persons12.1 Faculty of renowned Maestro o Phitsanulok• 13 of Phitsanulok province• 2 references.• 15 view more• 4 different data sources.Provincial symbols [edit]• Provincial emblem: Phra Buddha chinnarat• Provincial flowers blossom (Peltophorum pterocarpum): 269.• Provincial tree (Millingtonia hortensis) years:[Edit] geographyLocation and territory [edit]Phitsanulok province is located in the lower North and central regions in the country, Thailand's top episodes. Known as the "North on the long-term" 368 km away from Bangkok, all space is approximately 6,759,909 km2 or 10815 ranch with nearby provinces as follows:Contact with district North District gold Saen Khan District and pichai Pat (uttaradit) and Sainyabuli province, Laos PDR.South mueang Phichit district Prefecture three prong and charismatic vajira unrefined iron district (province Phichit)Amphoe LOM SAK Road East in contact with Wang Pong-Khao Kho district (in phetchabun) Amphoe Dan Sai and Amphoe na frustration (Loei)The West Kong krailat district contact the Amphoe SI samrong, Amphoe LAN krabue and (Sukhothai) (kamphaeng Phet).The terrain and climate [edit] Patio stone button.North and Central County as high mountains and plateau By high mountains, Northeastern, which is located in Amphoe Wang thong, Amphoe noen maprang district Temple Church Thailand chat trakan district, and district. The area is the South Central Plains and southern lowlands, especially a basin area of Nan and Yom River which is the source of the most important agricultural products of the province are located in Amphoe mueang Phitsanulok, bang rakam district, Amphoe noen maprang Phrom phiram district and parts of Amphoe Wang thong.Phitsanulok has a monsoon blows from the South China Sea and the Ocean through India and divided into 3 seasons.• ฤดูร้อน ประมาณเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 32 องศาเซลเซียส• ฤดูฝน จะเริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ปริมาณน้ำฝน เฉลี่ยประมาณปีละ 1,375 มิลลิเมตร• ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 19 องศาเซลเซียส[ซ่อน]ข้อมูลภูมิอากาศของจังหวัดพิษณุโลกเดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปีอุณหภมูิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 36.3(97.3) 38.0(100.4) 40.3(104.5) 41.8(107.2) 42.0(107.6) 38.7(101.7) 38.4(101.1) 36.7(98.1) 36.6(97.9) 35.3(95.5) 35.7(96.3) 35.6(96.1) 42(107.6)อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 31.6(88.9) 33.9(93) 35.9(96.6) 37.4(99.3) 35.6(96.1) 33.6(92.5) 32.8(91) 32.3(90.1) 32.3(90.1) 32.3(90.1) 31.7(89.1) 30.9(87.6) 33.36(92.05)อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 24.1(75.4) 26.7(80.1) 29.0(84.2) 30.6(87.1) 29.6(85.3) 28.5(83.3) 28.1(82.6) 27.8(82) 27.8(82) 27.6(81.7) 26.1(79) 24.0(75.2) 27.49(81.49)อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 18.0(64.4) 20.8(69.4) 23.5(74.3) 25.3(77.5) 25.2(77.4) 24.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: