Ching-Ting (2010) วิจัยเรื่องการแปลบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ไต้หวันเรื่อง “C การแปล - Ching-Ting (2010) วิจัยเรื่องการแปลบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ไต้หวันเรื่อง “C อังกฤษ วิธีการพูด

Ching-Ting (2010) วิจัยเรื่องการแปล

Ching-Ting (2010) วิจัยเรื่องการแปลบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ไต้หวันเรื่อง “Cape No.7” จากภาษาจีนกลางไต้หวันเป็นภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลางไต้หวันได้รับอิทธิพลจากภาษาถิ่น Tai-yu เป็นอย่างมาก นักวิจัยจึงศึกษากลวิธีที่ผู้แปลใช้ในการแปลข้อความภาษาถิ่นที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะ โดยเลือกศึกษาเฉพาะการแปลคำสแลง คำสบถ และมุกตลก (รวมถึงการเล่นคำมุกตลกเชิงอุปลักษณ์ และมุกตลกที่ใช้เหน็บแนมหรือเย้ยหยัน) ผู้วิจัยพบว่า นักแปลใช้กลวิธีในการแปลหลากหลายวิธี ได้แก่ กลวิธีการแปลแบบตรงตัวหรือกล่าวซ้ำ (repetition) การทับศัพท์หรือการถ่ายทอดคำแปลโดยการถอดเสียงคำ (orthographic adaptation) การแปลตามหลักภาษาศาสตร์ซึ่งเน้นให้ผู้อ่านภาษาแปลเข้าใจและเห็นโครงสร้างในภาษาต้นฉบับ (linguistic translation) การเพิ่มคำอธิบายประกบคำศัพท์เฉพาะวัฒนธรรม เช่น การใส่เชิงอรรถหรือการใช้อภิธานศัพท์ (extra-textual gloss) การเพิ่มคำอธิบายในข้อความ (intra-textual gloss) การแทนที่ (substitution) เช่น การใช้คำคล้าย (synonymy) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมในภาษาปลายทาง (limited universalization) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมที่เป็นคำกลาง (absolute universalization) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทาง (naturalization) การตัดคำ (deletion) และการเพิ่มคำอธิบายที่ไม่ปรากฏในภาษาต้นทาง
Samakar (2010) วิจัยเรื่องการแปลคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะในบทภาพยนตร์อิหร่านเรื่อง “The Lizard” (2004) เป็นภาษาอังกฤษ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ตลกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา สังคมในอิหร่านและการดำเนินชีวิตทั่วไปของคนอิหร่าน ผู้วิจัยพบว่า จากข้อมูลคำและวลีที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะจำนวน 77 ตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้วิธีการถอดความ (paraphrase) มากที่สุด อย่างไรก็ตาม ผู้แปลใช้วิธีการแปลอื่นๆ ได้แก่ การแปลโดยยึดภาษาต้นทาง (source language oriented strategy) 36% ซึ่งได้แก่การคงคำภาษาต้นฉบับไว้ (retention) การกล่าวระบุถึงรายละเอียด (specification) การแปลตรง(direct translation) และการแปลโดยยึดภาษาแปล (target language oriented strategy) 41 ตัวอย่าง ได้แก่ การแปลโดยการพูดคลุมหรือกล่าวโดยทั่วไป (generalization) การแทนที่ (substitution) และการละ (omission) ผู้วิจัย กล่าวว่า การแทนที่และการถอดความเป็นวิธีที่ผู้แปลใช้มากที่สุดเนื่องจากคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะเปอร์เซียไม่มีอยู่ในวัฒนธรรมภาษาปลายทาง ดังนั้น ผู้แปลจึงแทนที่คำเฉพาะวัฒนธรรมด้วยด้วยการถอดความโดยไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการหาคำเทียบเคียงทางวัฒนธรรม ผู้วิจัยแนะนำว่า ในการแปลทั่วไป การถอดความอาจเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจวัฒนธรรมภาษาต้นทาง แต่ในการทำบทบรรยายภาพยนตร์นั้น ผู้แปลไม่อาจใช้วลีที่ยาวมากนัก ดังนั้น เมื่อผู้แปลถอดความคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะด้วยวิธีนี้ คำหรือสาระบางอย่างในบทสนทนาจะถูกตัดทอนลงไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Ching-Ting (2010) วิจัยเรื่องการแปลบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ไต้หวันเรื่อง “Cape No.7” จากภาษาจีนกลางไต้หวันเป็นภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลางไต้หวันได้รับอิทธิพลจากภาษาถิ่น Tai-yu เป็นอย่างมาก นักวิจัยจึงศึกษากลวิธีที่ผู้แปลใช้ในการแปลข้อความภาษาถิ่นที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะ โดยเลือกศึกษาเฉพาะการแปลคำสแลง คำสบถ และมุกตลก (รวมถึงการเล่นคำมุกตลกเชิงอุปลักษณ์ และมุกตลกที่ใช้เหน็บแนมหรือเย้ยหยัน) ผู้วิจัยพบว่า นักแปลใช้กลวิธีในการแปลหลากหลายวิธี ได้แก่ กลวิธีการแปลแบบตรงตัวหรือกล่าวซ้ำ (repetition) การทับศัพท์หรือการถ่ายทอดคำแปลโดยการถอดเสียงคำ (orthographic adaptation) การแปลตามหลักภาษาศาสตร์ซึ่งเน้นให้ผู้อ่านภาษาแปลเข้าใจและเห็นโครงสร้างในภาษาต้นฉบับ (linguistic translation) การเพิ่มคำอธิบายประกบคำศัพท์เฉพาะวัฒนธรรม เช่น การใส่เชิงอรรถหรือการใช้อภิธานศัพท์ (extra-textual gloss) การเพิ่มคำอธิบายในข้อความ (intra-textual gloss) การแทนที่ (substitution) เช่น การใช้คำคล้าย (synonymy) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมในภาษาปลายทาง (limited universalization) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมที่เป็นคำกลาง (absolute universalization) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทาง (naturalization) การตัดคำ (deletion) และการเพิ่มคำอธิบายที่ไม่ปรากฏในภาษาต้นทาง Samakar (2010) วิจัยเรื่องการแปลคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะในบทภาพยนตร์อิหร่านเรื่อง “The Lizard” (2004) เป็นภาษาอังกฤษ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ตลกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา สังคมในอิหร่านและการดำเนินชีวิตทั่วไปของคนอิหร่าน ผู้วิจัยพบว่า จากข้อมูลคำและวลีที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะจำนวน 77 ตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้วิธีการถอดความ (paraphrase) มากที่สุด อย่างไรก็ตาม ผู้แปลใช้วิธีการแปลอื่นๆ ได้แก่ การแปลโดยยึดภาษาต้นทาง (source language oriented strategy) 36% ซึ่งได้แก่การคงคำภาษาต้นฉบับไว้ (retention) การกล่าวระบุถึงรายละเอียด (specification) การแปลตรง(direct translation) และการแปลโดยยึดภาษาแปล (target language oriented strategy) 41 ตัวอย่าง ได้แก่ การแปลโดยการพูดคลุมหรือกล่าวโดยทั่วไป (generalization) การแทนที่ (substitution) และการละ (omission) ผู้วิจัย กล่าวว่า การแทนที่และการถอดความเป็นวิธีที่ผู้แปลใช้มากที่สุดเนื่องจากคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะเปอร์เซียไม่มีอยู่ในวัฒนธรรมภาษาปลายทาง ดังนั้น ผู้แปลจึงแทนที่คำเฉพาะวัฒนธรรมด้วยด้วยการถอดความโดยไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการหาคำเทียบเคียงทางวัฒนธรรม ผู้วิจัยแนะนำว่า ในการแปลทั่วไป การถอดความอาจเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจวัฒนธรรมภาษาต้นทาง แต่ในการทำบทบรรยายภาพยนตร์นั้น ผู้แปลไม่อาจใช้วลีที่ยาวมากนัก ดังนั้น เมื่อผู้แปลถอดความคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะด้วยวิธีนี้ คำหรือสาระบางอย่างในบทสนทนาจะถูกตัดทอนลงไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Ching-Ting (2010) วิจัยเรื่องการแปลบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ไต้หวันเรื่อง “Cape No.7” จากภาษาจีนกลางไต้หวันเป็นภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลางไต้หวันได้รับอิทธิพลจากภาษาถิ่น Tai-yu เป็นอย่างมาก นักวิจัยจึงศึกษากลวิธีที่ผู้แปลใช้ในการแปลข้อความภาษาถิ่นที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะ โดยเลือกศึกษาเฉพาะการแปลคำสแลง คำสบถ และมุกตลก (รวมถึงการเล่นคำมุกตลกเชิงอุปลักษณ์ และมุกตลกที่ใช้เหน็บแนมหรือเย้ยหยัน) ผู้วิจัยพบว่า นักแปลใช้กลวิธีในการแปลหลากหลายวิธี ได้แก่ กลวิธีการแปลแบบตรงตัวหรือกล่าวซ้ำ (repetition) การทับศัพท์หรือการถ่ายทอดคำแปลโดยการถอดเสียงคำ (orthographic adaptation) การแปลตามหลักภาษาศาสตร์ซึ่งเน้นให้ผู้อ่านภาษาแปลเข้าใจและเห็นโครงสร้างในภาษาต้นฉบับ (linguistic translation) การเพิ่มคำอธิบายประกบคำศัพท์เฉพาะวัฒนธรรม เช่น การใส่เชิงอรรถหรือการใช้อภิธานศัพท์ (extra-textual gloss) การเพิ่มคำอธิบายในข้อความ (intra-textual gloss) การแทนที่ (substitution) เช่น การใช้คำคล้าย (synonymy) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมในภาษาปลายทาง (limited universalization) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมที่เป็นคำกลาง (absolute universalization) การใช้คำอ้างอิงทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทาง (naturalization) การตัดคำ (deletion) และการเพิ่มคำอธิบายที่ไม่ปรากฏในภาษาต้นทาง
Samakar (2010) วิจัยเรื่องการแปลคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะในบทภาพยนตร์อิหร่านเรื่อง “The Lizard” (2004) เป็นภาษาอังกฤษ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ตลกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา สังคมในอิหร่านและการดำเนินชีวิตทั่วไปของคนอิหร่าน ผู้วิจัยพบว่า จากข้อมูลคำและวลีที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะจำนวน 77 ตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้วิธีการถอดความ (paraphrase) มากที่สุด อย่างไรก็ตาม ผู้แปลใช้วิธีการแปลอื่นๆ ได้แก่ การแปลโดยยึดภาษาต้นทาง (source language oriented strategy) 36% ซึ่งได้แก่การคงคำภาษาต้นฉบับไว้ (retention) การกล่าวระบุถึงรายละเอียด (specification) การแปลตรง(direct translation) และการแปลโดยยึดภาษาแปล (target language oriented strategy) 41 ตัวอย่าง ได้แก่ การแปลโดยการพูดคลุมหรือกล่าวโดยทั่วไป (generalization) การแทนที่ (substitution) และการละ (omission) ผู้วิจัย กล่าวว่า การแทนที่และการถอดความเป็นวิธีที่ผู้แปลใช้มากที่สุดเนื่องจากคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะเปอร์เซียไม่มีอยู่ในวัฒนธรรมภาษาปลายทาง ดังนั้น ผู้แปลจึงแทนที่คำเฉพาะวัฒนธรรมด้วยด้วยการถอดความโดยไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการหาคำเทียบเคียงทางวัฒนธรรม ผู้วิจัยแนะนำว่า ในการแปลทั่วไป การถอดความอาจเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจวัฒนธรรมภาษาต้นทาง แต่ในการทำบทบรรยายภาพยนตร์นั้น ผู้แปลไม่อาจใช้วลีที่ยาวมากนัก ดังนั้น เมื่อผู้แปลถอดความคำที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเฉพาะด้วยวิธีนี้ คำหรือสาระบางอย่างในบทสนทนาจะถูกตัดทอนลงไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Ching-Ting (2010) research on the translation of subtitles under Taiwanese film about "Cape No.7 "from Taiwan Mandarin into English. Mandarin Taiwanese dialect greatly influenced by Tai-yu researchers study the strategies that people use in text translation and translation related to culture.Swear and jokes (including wordplay jokes and metaphors. And the jokes used insulting or HISS), the researcher found that translators use strategies in translating a variety of ways, including direct translation strategies or repeated. (repetition).(orthographic adaptation) translation: a linguistic approach, which focuses on language translation readers see structures in the source language (linguistic. Translation) to add a description mesh terminology cultures, such as the input or the use of footnotes (extra-textual vocabulary glossaries.The description in the text (intra-textual gloss) substitution (substitution), such as the use of the word like (synonymy) the use of the word in the language อ้างอิงทางวัฒนธรรม destination. (limited universalization) the cultural references are middle word (absolute universalization).(naturalization) wrapping (deletion) and add a description that does not appear in the source language
.Samakar (2010) research on the translation of words related to the unique culture of Iranian screenplay entitled "The Lizard” (2004) in English. The film is a comedy movie with content about religion.The researcher found that From the words and phrases associated with the unique culture of 77 samples. The research methods paraphrase transcription () most. However, the translators used to translate the other, including translation, based on the source language (source. Language oriented.Key words: 36% which source language (retention) said specify the details (specification) translation (direct translation). And translation based on the language translation (target language oriented strategy) 41 examples include speech translation by cover or said generally (generalization).(substitution) and his (omission) researcher said, replacing and transcription is how translators use the most because Related words in Persian culture in culture, language, no specific destination. SoThe researcher suggested that translation in general. Transcription may be a way to help the reader understand the source language culture. But in doing narration and film. The translator may not use the phrase so long ago.A word or some substance in the dialogue is truncated to
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: