ปัญหาของเดส์การ์ตส์ปัญหาสำคัญในปรัชญา คือขาดคำตอบที่แน่นอนชัดเจนซึ่งตร การแปล - ปัญหาของเดส์การ์ตส์ปัญหาสำคัญในปรัชญา คือขาดคำตอบที่แน่นอนชัดเจนซึ่งตร อังกฤษ วิธีการพูด

ปัญหาของเดส์การ์ตส์ปัญหาสำคัญในปรัช

ปัญหาของเดส์การ์ตส์
ปัญหาสำคัญในปรัชญา คือขาดคำตอบที่แน่นอนชัดเจนซึ่งตรงกับตรรกวิทยาและคณิตศาสตร์ ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากปรัชญาขาดพื้นฐานที่มั่นคงและมีข้อบกพร่องที่วิธีคิด วิธีคิดที่ถูกต้องนั่นเดส์การ์ตส์เห็นว่าคือวิธีคิคดแบบคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิธีของเรขาคณิต

เดส์การ์ตส์เชื่อมั่นว่า ความจริงหรือความรู้ทางปรัชญานั้นจะเข้าถึงได้ด้วยเหตุผล ซึ่งต้องสร้างขึ้นเป็นระบบ การศึกษาปรัชญาเป็นการศึกษาเพื่อให้เกิดความรอบรู้และสติปัญญา จะทำให้เรามีความคิดที่รอบคอบและมีความรู้ที่สมบรูณ์เกี่ยวกับสรรพสิ่ง คำว่าปรัชญา เดส์การ์ตส์ หมายความถึง อภิปรัชญาและฟิสิกส์ หรือปรัชญาธรรมชาติ อภิปรัชญาศึกษาความคิดที่ชัดแจ้ง เกี่ยวกับ จิตหรือตัวตน สำหรับฟิสิกส์นั้นศึกษาเพื่อหาหลักการที่จะอธิบายเรื่องวัตถุศึกษาโครงสร้างของโลกและธรรมชาติของสิ่งต่างๆ เขาเปรียบเทียบว่าปรัชญาเหมือนกับต้นไม้ อภิปรัชญาเปรียบได้กับราก ฟิสิกส์เปรียบเหมือนลำต้น เดส์การ์ตส์เน้นความสำคัญของวิธีการ และอภิปรัชญามากกว่าจริยศาสตร์ ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างรากและลำต้นที่แข็งแรงก่อน

วิธีการของเดส์การ์ตส์
เดส์การ์ตส์เริ่มวิธีการของเขาด้วยความคิดที่ว่า เขาจำเป็นต้องหาจุดเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด โดยไม่เชื่อคำสอนของนักปรัชญารุ่นเก่า การจะเข้าถึงความรู้ที่ชัดเจนแจ่มแจ้ง ความคิดของเราต้องชัดเจนแจ่มแจ้งเป็นเบื้องต้น เดส์การ์ตส์เชื่อว่า โดยธรรมชาติจิตของเรามีอำนาจหรือสมรรถภาพสองอย่างคือ อัชฌัตติกญาณ และการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย

เดส์การ์ตส์ได้นำเอาวิธีการที่ใช่ในเรขาคณิตมาใช้ในวิธีการศึกษาปรัชญา คำว่าอัชฌัตติกญาณ เดส์การ์ตส์หมายถึง กิจกรรมทางปัญญาของจิตที่จะทำให้จิตเองเกิดความเข้าใจสิ่งใดๆ ได้อย่างชัดเจนในตัว

วิธีการนิรนัย เดส์การ์ตส์อธิบายว่า “เป็นการอนุมานจากข้อเท็จจริงที่เรารู้แล้วอย่างแน่นอน” จุดเริมต้นหรือข้อเสนอของวิธีการนิรนัยนั้นได้มาโดยอาศัยประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส เดส์การ์ตส์คิดว่า ประสาทสัมผัสให้ความรู้ที่สงสัยได้อาจเป็นสิ่งหลอกลวง เดส์การ์ตส์ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส

การสงสัยเชิงวิธีการ
“ข้าพเจ้าคิดดังนั้นข้าพเจ้าจึงมีอยู่” (I think, therefore I m)

เดส์การ์ตส์ใช้การสงสัยเป็นจุดเริ่มต้นในการหาความรู้ที่แน่นอนทุกสิ่งทุกอย่างสงสัยได้ทั้งสิ้น สิ่งที่เราเห็น สิ่งที่เราคิด สิ่งที่เราจินตนาการ ความสงสัย (doubt) นั่นเองเป็นสิ่งที่มีอยู่อย่างแน่นอน เราสงสัยต่อสิ่งใดๆ เท่ากับเป็นการยืนยันว่าความสงสัยของเรามีอยู่

เกิดความสงสัยก็คือเราเกิดความคิด ความคิดก็ต้องมีผู้คิด แสดงว่าผู้คิดต้องมีอยู่ จึงสรุปได้ว่าเมื่อ “ข้าพเจ้าคิดดังนั้นข้าพเจ้าจึงมีอยู่” (I think, therefore I m) ข้อความนี้เป็นความจริงที่ชัดเจนและแน่นอน คือเป็นมูลบทสำหรับนำไปพิสูจน์ความจริงอื่นๆ ต่อไป

เดส์การ์ตส์แบ่งความคิดออกเป็น 3 ประเภท คือ

ความคิดที่ได้จากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส เป็นความคิดที่ไม่ชัดเจน น่าสงสัย
ความคิดที่เกิดจากจินตนาการ ไม่ชัดเจนและน่าสงสัยเช่นกัน
ความคิดที่ติดอยู่ในจิตตั้งแต่เกิด เป็นสิ่งที่จิตรู้ได้เองมีความชัดเจนในตัวและมีความแน่นอน

มาตรการตัดสินความจริง (Criterion of Truth)
เดส์การ์ตส์อธิบายว่า สิ่งที่แจ่มแจ้งนั้น หมายถึงสิ่งซึ่งปรากฏอย่างชัดแจ้งต่อจิต และสิ่งที่ชัดเจน คือ สิ่งที่แน่นอนและแตกต่างจากสิ่งอื่นๆ ทั้งหมด นี่เป็นมาตราการตัดสินความจริงของเดส์การ์ตส์

การพิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้า
เริ่มต้นจากการสำรวจความคิดต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในจิตของเรามีอยู่สามประเภทคือ ความคิดที่ติดตัวมาแต่เกิด ความคิดที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง และความคิดที่ได้มาจากวัตถุภายนอก ความคิดทั้งหลายนั้นย่อมมีสาเหตุที่ทำให้เกิด การคิดเกี่ยวกับพระเจ้านั้น เราจะคิดถึงพระองค์ในลักษณะเป็นสาร พระเจ้าเป็นสารที่ไร้ขอบเขตไม่สมบูรณ์เท่าพระเจ้า จึงเป็นไปไม่ได้ที่ความคิดเกี่ยวกับพระเจ้าที่สมบูรณ์จะมาจากจินของเราเองที่ไม่สมบูรณ์ การคิดถึงสิ่งสมบูรณ์ย่อมมาจากสาเหตุที่สมบูรณ์กว่า นั่นคือมาจากพระเจ้านั่นเอง พระเจ้าจึงเป็นสาเหตุแห่งความคิดนี้ พระเจ้ามีอยู่จริง และเนื่องจากพระเจ้าเป็นอมตะมีอำนาจสูงสุด เป็นสัพพัญญู มีความดีสูงสุด

ความมีอยู่ของโลกภายนอก
เข้าได้ยืนยันแล้วว่า ตัวเราในฐานะที่เป็นสิ่งที่คิดและเป็นสิ่งที่ไม่กินที่ มีอยู่จริง และตัวเราก็สามารถมีความคิดที่ชัดเจน แจ่มแจ้งเกี่ยวกับร่างกายเราเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่คิดและเป็นสิ่งกินที่ ดังนั้นร่างกายของเราจึงต้องมีอยู่จริง ถ้าเราคิดว่าวัตถุภายนอกตัวเราเป็นสิ่งที่พระเจ้าสร้างมาเพื่อหลอกลวงเรา ไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่จริง ความคิดเช่นนี้ก็น่าจะผิด เพราะพระเจ้ามีแต่ความดี จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะหลอกลวงเรา เมื่อเรารับรู้และเกิดความคิดเกี่ยวกับวัตถุนอกตัวเราอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง ก็แสดงว่าต้องมีวัตถุที่เป็นสาเหตุแห่งการรับรู้หรือสาเหตุแห่งความคิดของเรา โลกของวัตถุภายนอกจึงมีอยู่อย่างเป็นอิสระจากจิตของเราแน่นอน

ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับร่าง
จิตกับร่างกายเป็นสารสองอย่างที่แตกต่างกัน จิตเป็นสิ่งไม่กินที่ สามารถคิดได้ มีความรู้สึก ร่างกายเป็นสิ่งกินที่ ไม่มีความรู้สึกนึกคิด ทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน สาเหตุทางร่างกายนอกจากจะมีผลกระทบต่อปรากฏการณ์ทางร่างกายด้วยกันแล้ว ยังมีผลกระทบต่อปรากฏการณ์ทางร่างกายด้วย คือ ทั้งจิตและร่างกายต่างก็ส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน จุดที่ทำให้จิตกับร่างกายมีความสัมพันธ์กันหรือส่งผลกระทบถึงกันได้คือต่อมในสมองที่เรียกว่า pineal gland การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับร่างกายในลักษณะนี้เรียกว่าทฤษฎีกริยานิยม ซึ่งเป็นความคิดแบบทวินิยม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Problems of des garden taAn important problem in philosophy is the lack of a clear answer, of course, that which corresponds to the mathematical sciences, and tak is like this due to the lack of a stable basis for the philosophy and method of the fault. How right it is that ta garden des khikhot the way maths, especially of geometry.เดส์การ์ตส์เชื่อมั่นว่า ความจริงหรือความรู้ทางปรัชญานั้นจะเข้าถึงได้ด้วยเหตุผล ซึ่งต้องสร้างขึ้นเป็นระบบ การศึกษาปรัชญาเป็นการศึกษาเพื่อให้เกิดความรอบรู้และสติปัญญา จะทำให้เรามีความคิดที่รอบคอบและมีความรู้ที่สมบรูณ์เกี่ยวกับสรรพสิ่ง คำว่าปรัชญา เดส์การ์ตส์ หมายความถึง อภิปรัชญาและฟิสิกส์ หรือปรัชญาธรรมชาติ อภิปรัชญาศึกษาความคิดที่ชัดแจ้ง เกี่ยวกับ จิตหรือตัวตน สำหรับฟิสิกส์นั้นศึกษาเพื่อหาหลักการที่จะอธิบายเรื่องวัตถุศึกษาโครงสร้างของโลกและธรรมชาติของสิ่งต่างๆ เขาเปรียบเทียบว่าปรัชญาเหมือนกับต้นไม้ อภิปรัชญาเปรียบได้กับราก ฟิสิกส์เปรียบเหมือนลำต้น เดส์การ์ตส์เน้นความสำคัญของวิธีการ และอภิปรัชญามากกว่าจริยศาสตร์ ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างรากและลำต้นที่แข็งแรงก่อนHow des garden taDes and his methods start ta garden, with the idea that they need to find a starting point for all new. Without the trust of the older philosophers To access the explicit knowledge is informing our thoughts must clearly inform the preliminary round a. Garden naturally believed ta des spirit of our powers or performance of two is ash chat well and the reason Semitic ninnai.Garden des ta brought the way geometry is used in the method of education philosophy. The term Semitic ta chat well as mean troubling des intellectual activity of the mind to make the mind itself understand anything explicitly in the.How to garden des ninnai ta explained that "to infer from the fact that we knew, certainly" Herpes Simplex or point a proposal of how the experience acquired by ninnai sensory. Garden des ta think knowledge, senses that the suspect may be fraudulent. Garden des ta does not provide vital knowledge derived from sensory experience.The question-how to"I think, therefore I exist" (I think, therefore I m)เดส์การ์ตส์ใช้การสงสัยเป็นจุดเริ่มต้นในการหาความรู้ที่แน่นอนทุกสิ่งทุกอย่างสงสัยได้ทั้งสิ้น สิ่งที่เราเห็น สิ่งที่เราคิด สิ่งที่เราจินตนาการ ความสงสัย (doubt) นั่นเองเป็นสิ่งที่มีอยู่อย่างแน่นอน เราสงสัยต่อสิ่งใดๆ เท่ากับเป็นการยืนยันว่าความสงสัยของเรามีอยู่เกิดความสงสัยก็คือเราเกิดความคิด ความคิดก็ต้องมีผู้คิด แสดงว่าผู้คิดต้องมีอยู่ จึงสรุปได้ว่าเมื่อ “ข้าพเจ้าคิดดังนั้นข้าพเจ้าจึงมีอยู่” (I think, therefore I m) ข้อความนี้เป็นความจริงที่ชัดเจนและแน่นอน คือเป็นมูลบทสำหรับนำไปพิสูจน์ความจริงอื่นๆ ต่อไปเดส์การ์ตส์แบ่งความคิดออกเป็น 3 ประเภท คือ ความคิดที่ได้จากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส เป็นความคิดที่ไม่ชัดเจน น่าสงสัย ความคิดที่เกิดจากจินตนาการ ไม่ชัดเจนและน่าสงสัยเช่นกัน ความคิดที่ติดอยู่ในจิตตั้งแต่เกิด เป็นสิ่งที่จิตรู้ได้เองมีความชัดเจนในตัวและมีความแน่นอนมาตรการตัดสินความจริง (Criterion of Truth)เดส์การ์ตส์อธิบายว่า สิ่งที่แจ่มแจ้งนั้น หมายถึงสิ่งซึ่งปรากฏอย่างชัดแจ้งต่อจิต และสิ่งที่ชัดเจน คือ สิ่งที่แน่นอนและแตกต่างจากสิ่งอื่นๆ ทั้งหมด นี่เป็นมาตราการตัดสินความจริงของเดส์การ์ตส์การพิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้าเริ่มต้นจากการสำรวจความคิดต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในจิตของเรามีอยู่สามประเภทคือ ความคิดที่ติดตัวมาแต่เกิด ความคิดที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง และความคิดที่ได้มาจากวัตถุภายนอก ความคิดทั้งหลายนั้นย่อมมีสาเหตุที่ทำให้เกิด การคิดเกี่ยวกับพระเจ้านั้น เราจะคิดถึงพระองค์ในลักษณะเป็นสาร พระเจ้าเป็นสารที่ไร้ขอบเขตไม่สมบูรณ์เท่าพระเจ้า จึงเป็นไปไม่ได้ที่ความคิดเกี่ยวกับพระเจ้าที่สมบูรณ์จะมาจากจินของเราเองที่ไม่สมบูรณ์ การคิดถึงสิ่งสมบูรณ์ย่อมมาจากสาเหตุที่สมบูรณ์กว่า นั่นคือมาจากพระเจ้านั่นเอง พระเจ้าจึงเป็นสาเหตุแห่งความคิดนี้ พระเจ้ามีอยู่จริง และเนื่องจากพระเจ้าเป็นอมตะมีอำนาจสูงสุด เป็นสัพพัญญู มีความดีสูงสุดความมีอยู่ของโลกภายนอกเข้าได้ยืนยันแล้วว่า ตัวเราในฐานะที่เป็นสิ่งที่คิดและเป็นสิ่งที่ไม่กินที่ มีอยู่จริง และตัวเราก็สามารถมีความคิดที่ชัดเจน แจ่มแจ้งเกี่ยวกับร่างกายเราเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่คิดและเป็นสิ่งกินที่ ดังนั้นร่างกายของเราจึงต้องมีอยู่จริง ถ้าเราคิดว่าวัตถุภายนอกตัวเราเป็นสิ่งที่พระเจ้าสร้างมาเพื่อหลอกลวงเรา ไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่จริง ความคิดเช่นนี้ก็น่าจะผิด เพราะพระเจ้ามีแต่ความดี จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะหลอกลวงเรา เมื่อเรารับรู้และเกิดความคิดเกี่ยวกับวัตถุนอกตัวเราอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง ก็แสดงว่าต้องมีวัตถุที่เป็นสาเหตุแห่งการรับรู้หรือสาเหตุแห่งความคิดของเรา โลกของวัตถุภายนอกจึงมีอยู่อย่างเป็นอิสระจากจิตของเราแน่นอนปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับร่างจิตกับร่างกายเป็นสารสองอย่างที่แตกต่างกัน จิตเป็นสิ่งไม่กินที่ สามารถคิดได้ มีความรู้สึก ร่างกายเป็นสิ่งกินที่ ไม่มีความรู้สึกนึกคิด ทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน สาเหตุทางร่างกายนอกจากจะมีผลกระทบต่อปรากฏการณ์ทางร่างกายด้วยกันแล้ว ยังมีผลกระทบต่อปรากฏการณ์ทางร่างกายด้วย คือ ทั้งจิตและร่างกายต่างก็ส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน จุดที่ทำให้จิตกับร่างกายมีความสัมพันธ์กันหรือส่งผลกระทบถึงกันได้คือต่อมในสมองที่เรียกว่า pineal gland การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับร่างกายในลักษณะนี้เรียกว่าทฤษฎีกริยานิยม ซึ่งเป็นความคิดแบบทวินิยม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The problem of เดส์การ์ตส์
.Important problems in philosophy. Is he a definite answer clear which match the logic and mathematics. This is due to the lack of basic philosophy, stable and bugs, way of thinkingEspecially the method of geometrical
.
.เดส์การ์ตส์ confidence. Truth or philosophical knowledge is accessed by reason. The need to build up a system. The study aimed to achieve knowledge philosophy and wisdom.The word philosophy, เดส์การ์ตส์ means to metaphysics and physics, or natural philosophy meta philosophy study ideas clear about mental or identity.He compares the philosophy like trees, metaphysics, comparable to the root เปรียบเหมือนลำต้น physics. เดส์การ์ตส์ emphasizing the importance of method. Metaphysics and more than ethics. This is to create a strong roots and stems before
.Method of เดส์การ์ตส์

.เดส์การ์ตส์ started his way with the idea that He needs to find a new beginning. Not to believe in the teachings of the old philosopher To access the knowledge that perfectly clear.เดส์การ์ตส์ believe. Naturally our mental power or capacity two is อัชฌัตติก perception and reasoning using แบบนิรนัย
.
เดส์การ์ตส์ took how right in geometry used in the study of philosophy, the method อัชฌัตติก perception เดส์การ์ตส์ means. Intellectual activity of the mind to make the mind itself to understand anything. Clearly in

.Deductive method, the เดส์การ์ตส์ explained. "As the inference from the fact that we know." Initial point or the proposal of the deductive method is derived by using a sensory experience เดส์การ์. Its thought.เดส์การ์ตส์ does not give importance to knowledge from a sensory experience
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: