งานวิจัย มศว ระบุเด็กไทยเรียนอังกฤษเพื่อสอบ พูดอ่อนแอมาก   ดร.อรพรรณ ว การแปล - งานวิจัย มศว ระบุเด็กไทยเรียนอังกฤษเพื่อสอบ พูดอ่อนแอมาก   ดร.อรพรรณ ว อังกฤษ วิธีการพูด

งานวิจัย มศว ระบุเด็กไทยเรียนอังกฤษ

งานวิจัย มศว ระบุเด็กไทยเรียนอังกฤษเพื่อสอบ พูดอ่อนแอมาก

ดร.อรพรรณ วีระวงศ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) เปิดเผยว่า จากงานวิจัยที่ได้ศึกษาเรื่องการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในเมืองไทยเพราะเหตุใดไม่ได้ผลนั้น และเด็กไทยก็ยังพูดภาษาอังกฤษไม่ได้แม้ว่าจะเรียนในหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) กำหนดให้ได้เรียนกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาตอนต้น - ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.1 - ป.6 ) และมัธยมศึกษาตอนตั้ง- มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.1-ม.6) รวมเวลาที่เรียนภาษาอังกฤษทั้งสิ้น 12 ปีเต็มๆ แต่เด็กไทยก็ยังใช้ภาษาอังกฤษในการพูดไม่ได้ อย่าว่าแต่เด็กเลยอาจารย์ในมหาวิทยาลัยระดับด๊อกเตอร์บางคนก็ยังไม่สามารถใช้ภาษาอังกฤษสนทนาในชีวิตประจำวันได้ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะมาจาก Socio Linguistics ภาษาศาสตร์ทางด้านสังคมไทย มีปัจจัยที่ทำให้เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แม้จะเรียนมาเป็นเวลาถึงสิบกว่าปีก็ตาม

สืบเนื่องจากการที่เด็กต้องสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ เด็กละเลยที่จะเรียนพูด ครูไม่เน้นไม่ให้ความสำคัญเพราะในข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่มีการสอบพูด ครูไทยเน้นการสอบไวยาการณ์ (grammar) และการการเนื้อเรื่อง (Reading) เพื่อให้เด็กสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ แรงขับดันจากพ่อแม่ผู้ปกครองที่ลูกต้องสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเพื่อพ่อแม่จะได้ภูมิใจ โรงเรียนเองก็ต้องการสถิติจำนวนเด็กที่สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ในจำนวนที่มากและแต่ละปีก็ต้องเพิ่มขึ้นๆ

“การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยจะแตกต่างจากการเรียนเพื่อนำมาใช้พูดในชีวิตประจำวันอย่างมาก เพราะการเรียนเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นการเรียนแบบท่องจำ ท่องศัพท์ เก็งข้อสอบ เพื่อจะได้ทำข้อสอบให้ได้มากที่สุด เด็กไทยเป็นจำนวนมากที่ทำข้อสอบภาษาอังกฤษได้ดีแต่เมื่อเจอชาวต่างชาติพูดไม่ได้ หากเด็กไทยไม่ต้องมุ่งทำข้อสอบภาษาอังกฤษเพื่อการสอบ แต่เรียนเพื่อการพูดและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้มากขึ้น อยากพูดอะไรให้พูด ครูต้องเน้นการสอนพูดมากกว่าไวยากรณ์และคำศัพท์
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มศว research study to identify the English-speaking children, Thailand is very weak. ดร.อรพรรณ วีระวงศ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) เปิดเผยว่า จากงานวิจัยที่ได้ศึกษาเรื่องการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในเมืองไทยเพราะเหตุใดไม่ได้ผลนั้น และเด็กไทยก็ยังพูดภาษาอังกฤษไม่ได้แม้ว่าจะเรียนในหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) กำหนดให้ได้เรียนกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาตอนต้น - ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.1 - ป.6 ) และมัธยมศึกษาตอนตั้ง- มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.1-ม.6) รวมเวลาที่เรียนภาษาอังกฤษทั้งสิ้น 12 ปีเต็มๆ แต่เด็กไทยก็ยังใช้ภาษาอังกฤษในการพูดไม่ได้ อย่าว่าแต่เด็กเลยอาจารย์ในมหาวิทยาลัยระดับด๊อกเตอร์บางคนก็ยังไม่สามารถใช้ภาษาอังกฤษสนทนาในชีวิตประจำวันได้ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะมาจาก Socio Linguistics ภาษาศาสตร์ทางด้านสังคมไทย มีปัจจัยที่ทำให้เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แม้จะเรียนมาเป็นเวลาถึงสิบกว่าปีก็ตาม สืบเนื่องจากการที่เด็กต้องสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ เด็กละเลยที่จะเรียนพูด ครูไม่เน้นไม่ให้ความสำคัญเพราะในข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่มีการสอบพูด ครูไทยเน้นการสอบไวยาการณ์ (grammar) และการการเนื้อเรื่อง (Reading) เพื่อให้เด็กสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ แรงขับดันจากพ่อแม่ผู้ปกครองที่ลูกต้องสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเพื่อพ่อแม่จะได้ภูมิใจ โรงเรียนเองก็ต้องการสถิติจำนวนเด็กที่สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ในจำนวนที่มากและแต่ละปีก็ต้องเพิ่มขึ้นๆ “การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยจะแตกต่างจากการเรียนเพื่อนำมาใช้พูดในชีวิตประจำวันอย่างมาก เพราะการเรียนเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นการเรียนแบบท่องจำ ท่องศัพท์ เก็งข้อสอบ เพื่อจะได้ทำข้อสอบให้ได้มากที่สุด เด็กไทยเป็นจำนวนมากที่ทำข้อสอบภาษาอังกฤษได้ดีแต่เมื่อเจอชาวต่างชาติพูดไม่ได้ หากเด็กไทยไม่ต้องมุ่งทำข้อสอบภาษาอังกฤษเพื่อการสอบ แต่เรียนเพื่อการพูดและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้มากขึ้น อยากพูดอะไรให้พูด ครูต้องเน้นการสอนพูดมากกว่าไวยากรณ์และคำศัพท์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Research Univeristy, identify the Thai children learn English for exam, say very weak

.Orapan DOI, vice president for international relations. University (SWU) revealed that from the research study about teaching English in Thailand, why doesn't work.(the Ministry of education.) destined to learn from the primary grades - upper primary (grade 1 - grade 6) and secondary school set - secondary school. 1 (M - M6) total time learning English all 12 years. But the children also use English in speaking. Even a young teacher at the university level, Martyn, some still can't use English conversation in daily life.Socio Linguistics linguistics in Thai society. There are factors that make children do not speak English Despite the school for more than ten years
.
.Due to having to the university entrance exam, child neglect to study said. The teacher does not focus on neglected because of the university entrance exam no exam. Thai teachers focus on syntax exam experience (grammar) and the story (Reading).The drive from parents, you need to have a graduate degree to parents will be proud The school wanted to statistics the child can college entrance examination get in bulk, and each year have increased
.
."Learning English for university entrance examination is different from learning to use words in everyday life greatly. Because learning to college entrance examination as learning rote recite vocabulary, anticipated questions.Thai children as many do English well but when I meet foreigners can't speak. If the children don't aim to do test of English for the exam. But learning to speak and use in daily life more, want to say to say.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: