เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการใช้ภาษา1.เอกสารทเกี่ยวข้องกับ การแปล - เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการใช้ภาษา1.เอกสารทเกี่ยวข้องกับ อังกฤษ วิธีการพูด

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับศิ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการใช้ภาษา
1.เอกสารทเกี่ยวข้องกับศิลปะการใช้ภาษา
2.เอกสารทเกี่ยวข้องกับจินตภาพ
3.เอกสารทเกี่ยวข้องกับภาพพจน์


เอกสารที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการใช้ภาษา
คำว่า “ศิลปะการใช้ภาษา” จะปรากฏอยู่ในสไตล์ของผู้เขียนซึ่งมีผู้เรียกแตกต่างกันไป
ว่า “ท่วงทำนองการแต่ง” “สไตล์” “ลีลาการเขียน” หรอ “ท่วงทำนองเขียน” ซึ่งมีนักวิชาการได้ ให้ความหมายไว้ดังนี้
ชวน เพชรแกว กล่าวว่า สไตล์ (Style) หมายถึง “ท่วงท่าที่แสดงออกเป็นลักษณะ
เฉพาะตัวของกวีแต่ละคน กวีต่างก็มีแบบอย่างของตนเองปรากฏอยู่ซ้ำ ๆ จนสรุปได้ว่าการเขียน แบบนี้หรอสำนวนนี้เป็นของใคร เช่น สำนวนสามก๊ก คือ แบบที่ผู้แต่งสามก๊กใช้เรียบเรียง”
กุหลาบ มัลลิกะมาส กล่าวถึง ท่วงทำนองแต่งสรุปได้ว่า ท่วงทำนองแต่งเป็นการ
แสดงลักษณะเฉพาะตัวของผู้แต่งหรือกวีแต่ละคน ซึ่งปรากฏอยู่ในวรรณคดีที่แต่ง หากนำมา เทียบกับมนุษย์อาจบอกได้ว่า ผู้เขียนเป็นคนเช่นไร อ่อนหวาน ขี้เล่น หยาบกระด้าง โดยพิจารณา จากถ้อยคำ และวิธีการที่ผู้ประพันธ์แสดงออกมาจะเป็นแบบเฉพาะตนตามการแสดงออกต่าง ๆ และกุหลาบ มัลลิกะมาส เพิ่มเติมไว้ในหนังสือ วรรณกรรมไทย ว่า “สไตล์ (Style) เป็น ท่วงทำนอง ในการเขียนและลักษณะเฉพาะของผู้แต่งแต่ละคน ได้แก่ การเลือกสรรใช้คำ การใช้ประโยคแบบ ต่าง ๆ การใช้สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย (Imagery) การสร้างบรรยากาศ การใช้เสียงและลีลาเป็นต้น”
ธัญญา สังขพันธานนท์ กล่าวว่า “ลีลาการเขียน คือ แนวทางที่นักเขียนเลือกใช้และ เรียบเรียงถ้อยคำเพื่อที่จะแสดงความคิดหรือแก่นเรื่อง ลีลาการเขียนเกิดจากองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น การเลือกใช้คำ ประโยค วลี หรือการใช้ภาษาในเชิงความเปรียบ”
จากคำกล่าวของผู้รู้ข้างต้นจะเห็นได้ว่า “ศิลปะการใช้ภาษา” เป็นส่วนหนึ่งของท่วงทำนอง การเขียนแต่ละบุคคล เช่น การใช้ประโยคแบบต่างๆ การใช้สำนวนโวหาร การใช้เสียงและลีลา การเลือกใช้คำ วลี หรือการใช้ภาษาเชิงความเปรียบ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้อ่านเกิดการรับรู้หรือ เกิดภาพพจน์ได้ชัดเจน เรียกได้ว่า การสร้างจินตภาพและภาพพจน์


เอกสารที่เกี่ยวข้องกับจินตภาพ
เปลื้อง ณ นคร กล่าวว่า “จินตภาพ คือ Image อันเป็นศัพท์ทางจิตวิทยา ซึ่ง ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติขึ้น” และราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายว่า "จินตภาพ น. ภาพ ที่เกิดจากความนึกคิดหรือที่คิดว่าควรจะเป็นเช่นนั้น , ภาพลักษณ์ ก็ว่า. อ. Image
กุหลาบ มัลลิกะมาส กล่าวถึง จินตภาพ สรุปได้ว่า เป็นภาพทีเกิดขึ้นในความรู้สึกของเราที่เคยมีประสบการณ์นั้นมา ซึ่งเป็นภาพที่เกิดจากใจคิด ความรู้สึก และไม่ได้หมายความถึงการมองเห็นเท่านั้น แต่รวมถึงการได้ยิน ได้ลิ้มรส ได้กลิ่นก็ถือเป็นจินตภาพทั้งสิ้น
ในพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ - ไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานราชบัณฑิตยสถาน
ได้กล่าวเพิ่มเติมถึงคำว่า image จินตภาพ ในทางวรรณกรรม จินตภาพมีความหมายหลายอย่าง และมีที่ใช้หลายกรณี
1.ภาพในจิตหรือข้อคิดที่เกิดขึ้นจากการอ่านงานเขียนชิ้นหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทกวี
2. การพรรณนาในข้อเขียนซึ่งเราประสาทสัมผัสและสร้างภาพในจิตหรือข้อคิดให้เกิดขึ้น
3. ภาพพจน์ชนิดหนึ่ง เช่น อุปลักษณ์ หรืออุปมา ซึ่งภาพในจิตถูกถ่ายทอดโดย การเปรียบเทียบ
4. สัญลักษณ์ใช้แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งขอคิดทีเป็นนามธรรม จินตภาพ อาจเร้าประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทุกอย่าง หรืออาจนึกเห็นไปได้โดยอาศัยพุทธปัญญา
ราชบัณฑิตยสถาน ยิ่งกล่าวถึง imagery กระบวนจินตภาพ ว่า “เป็นวิธีการสร้างภาพใน จิตด้วยถ้อยคำที่เลือกสรรเป็นพิเศษเพื่อแทนความคด อารมณ์และประสบการณ์ด้านความรู้สึก และก่อให้เกิดภาพในจิตหรือข้อคิดตามธรรมดาการกระทำเช่นนี้จะเกี่ยวข้องกับภาษาจินตนาการ และภาษาภาพพจน์”
ทองสุก เกตุโรจน์ กล่าวถึง คำว่า Imagery กระบวนจินตภาพ สรุปได้ว่า จินตภาพ
คอ ภาพที่สร้างขึ้นมาจากคำ และคำนี้มักใช้กัน 3 ความหมาย ได้แก่
1. กระบวนจินตภาพ คือ จินตภาพหลาย ๆ จินตภาพรวมกัน หมายถึงวัตถุสิ่งของ และลักษณะต่าง ๆ ที่ประสามสัมผัสจะรับรู้ได้ ไม่ว่าจะเป็นการกล่าวโดยตรงหรือการกล่าว โดยนัย นอกจากนี้กระบวนการจินตภาพยังรวมถึงการได้ยิน การสัมผัสรู้สึกร้อนหนาว การได้ กลิ่น การลิ้มรส หรือการเคลื่อนไหว
2. กระบวนจินตภาพ หมายถึง คำบรรยายของสิ่งของและฉากที่มองเห็นได้เท่านั้น
3. กระบวนจินตภาพ หมายถึง ภาษาภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวเปรียบของอุปลักษณ์และอุปมา

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับภาพพจน์
วิภา กงกะนันทน์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพพจน์ สรุปได้ว่า ภาพพจน์เป็น
ศิลปะการใช้ภาษาอย่างหนึ่ง คือ เป็นวิธีการพูดหรือเขียนอย่างหนนึ่งแต่หมายความเป็นอย่างอื่น โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อขยายความให้ชัดเจนยิ่งขึ้น หรือเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกให้มากขึ้นหรือน้อยลงตามสติปัญญาของผู้อ่านหรือผู้ฟัง ซึ้งโดยทั่วไปภาพพจน์เป็น ภาษาที่ทำให้เกิดจินตภาพมากกว่าการใช้ภาษาอย่างตรงไปตรงมาเพราะมีการเปรียบเทียบ ภาพพจน์ที่ใช้ในวรรณคดีสามารถจัดประเภทได้ดังนี้

1. Metaphor (เมตาฟอร์) เป็นโวหารที่เปรียบเทียบของสองสิ่งที่ไม่จำเป็นต้องนำมา เปรียบกันว่าเป็นสิ่งเดียวกันทุกประการ โดยใช้คำ “เป็น" "คือ" ในการเปรียบเทียบ
2. Simile (สิมิลี) เป็นโวหารที่เปรียบของสองสิ่งที่ไม่จำเป็นต้องนำมาเปรียบกันว่า เหมือนกัน คำที่ผู้ใช้โวหารประเภทนี้ใช้ในการเปรียบ คือคำว่า เหมือน คลาย ดุจ ดูราว กล ประหนึ่ง เพียง ดัง ราวกับ เฉก ฯลฯ
3. Synecdoche (สมพจนัย) คือ การกล่าวถึงส่วนใดส่วนหนึ่งของส่วนทั้งหมดเพียงบ้างส่วน แต่ให้มีความหมายคลุมหมดทุกส่วน
4. Metonymy (นามนัย) การใช้โวหารแบบนี้ คือ การเอ่ยถึงสิ่งหนึ่งแต่ให้มีความหมาย เป็นอย่างอื่น
5.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Documents and research papers related to language arts1. doctorate aquatic environment related to language arts2. aquatic environment related to the imaginary protagonist.3. aquatic environment related to the image of the protagonist.Documents related to language arts The words "language arts" will appear in the author's style, which is different to the caller.That "dress" their "style" or "burn" Leela "melodies", which scholars have written, meaning. Chuan said the suspect diamonds styles (Style) means "posture is characterized by expression.Of each poet. The example of the poet himself appears repeatedly until it conclude that writing. This is the rhetoric of this kind or idioms such as three kingdoms who is the author that compose the three kingdoms. " Rose quarter shifts mentioned Mallika melodies, melodies that dress is a dress.Shows the characteristics of the author or poet, each of which appear in the literature that. If taken against humans may tell whether the author is a man, sweet, playful wording based on harshness and how that author will be represented by his children find joy and various shifts, Mallika Rose quarter. More literature in Thailand that "style (Style) is to write a melody, and the identity of the author, each include a selection of words using various stylistic idioms sentence metaphor upmai (Imagery) to create the atmosphere to use sound and Cadence, etc." Thanya sangkhlaburi thousand thanon said Leela is writing guidelines that authors choose to use and compose words to write or burn caused by Leela story transformed elements such as words, phrases or sentences, used to select the language used for commercial advantage. " From the words of those who know the above it can be seen that the "language arts" as part of their. Write a sentence for each person, such as the use of various stylistic idioms using audio and how to select a Word, phrase or Cadence to use language contrast, which is what gives the reader awareness, or image expression. Called to create visualizations and imageryDocuments related to visualization. As at Nakorn said, "deprived of the imaginary is a psychological term which unduly Image the Royal Institute Act" and the Royal Institute has provided, at the imaginary means "caused by thoughts or who think it should be like that, it's that image. Tue Image Rose quarter shifts mentioned Mallika visualizations that summarizing is arising in the image of our sense experience ever, which is caused by feeling and thinking mind doesn't mean visible only to hear the taste smell, it is considered to be a completely imaginary. In the literary dictionary English-Thailand Royal Institute the Royal Institute.More to say the words in a literary way, visualizations, image visualizations, meaning many, and there are many that use case. 1. images in the mind or thoughts that arise from reading the writings of one piece. Especially poems 2. the description in the sense in which we write and create mental images in a comment, or make it happen. 3. a type of image, such as uplaksa or mental pictures in the parable, which is relayed by the comparison. 4. use the symbol instead of something, especially abstract thought as imaginary request may be one of sensory stimulation, or thought, or they may see everything possible based on the Buddhist wisdom. The Royal Institute The more the imaginary process imagery mentioned that "as a way to create a mental image in words with special selection to serve instead of feelings and emotions, and experience in, causing a mental image in plain text or as an action such as this is related to the language of imagination and expression." Ripe Golden Gate flouresce or glow is mentioned the word Imagery and imaginary visualizations that summarizing process.The neck is constructed from images and words, this word often means 3 include: 1. the imaginary process is the imaginary imaginary object refers to the combination of multiple things and styles, the three will cease to accrue. Whether it is exaggeration or directly implied. In addition, the visualization process also include a hearing. Hot-cold feeling to the touch. The smell, taste or movement. 2. the visualization process refers to the subtitle of your things, and only the visible scene. 3. the imaginary process refers to the image, especially the language of parable and uplaksa.Imagery-related documents Vibha Kong Nan tha shifts to comment on that figure as the image.Language arts is a way to say or write to the Chief official, steamed, but it means otherwise. The aim is to expand to more clearly convey knowledge or to think. Emotion, more or less, according to the intelligence of the reader or listener to appreciate the typical imagery is language that causes the imaginary language more straightforward because of the comparison. Imagery that is used in the literature can be categorized as follows: 1. the Metaphor (meta-Fort) is a figure of speech that compares two things that don't need to be taken. As compared to all of the same thing by using the word "is", "is" in the comparison. 2. (a) Simile is a figure of speech that compares two things that don't need to be applying the same lots. The words that a user types in this comparison figure of speech is the word absolve as a mechanical-looking like just like these seem to like, etc. 3. Synecdoche (SOM photnai) is said to any part of the entire section, but only somewhat meaningful cover all sections. 4. the Metonymy (implicit). The use of this figure of speech is one thing, but mentioned, meaningful otherwise. 5.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: