B.e. 2553 (2010), the COP16 Conference Cancun, Mexico City, country. OK, save target to reduce greenhouse gas emissions in developed countries of 2563 and developing countries (developing countries, called for action to reduce greenhouse gas emissions target appropriate Nationally Appropriate Mitigation Actions of the country or: NAMAs) official under the UNFCCC Convention, including the reporting and review process to set goals that are set for each country. The process, which can vary between developed countries and developing countries.In the section issues financial Green Climate Fund established Fund to administer financial aid from developed countries to developing countries, by design, the details of the Fund in the next COP meeting. B.e. 2554 (2011) COP 5 Conference established an ad hoc working group to develop the Durban Platform of the new agreement, which will apply to all countries for the operation later in the year given by the 2563 completed within required negotiation meetings at COP 9 to Paris. Country Franceพ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2512) การประชุม COP18 กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ที่ประชุมพิจารณาต่ออายุพิธีสารเกียวโต ที่กำลังจะหมดอายุลงภายในสิ้นปี พ.ศ. 2555 ไปอีก 7 ปี (มีผลบังคับใช้ระหว่างปี พ.ศ.2556-2563) เรียกว่าพันธกรณีระยะที่ 2 อย่างไรก็ตาม มีเพียง 35 ประเทศที่ตกลงเข้าร่วมในพันธกรณีระยะที่ 2นี้ โดยประเทศที่ปล่อยก๊าซฯ มากได้แก่ รัสเซีย ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และแคนาดาไม่เข้าร่วมด้วย โดยที่สหรัฐอเมริกา และจีน ซึ่งเป็นประเทศที่มีปล่อยมลพิษมากที่สุดในโลกไม่เข้าร่วมอยู่แล้ว (สหรัฐไม่ได้ให้สัตยาบันในพิธีสาร และจีนแม้ว่าจะปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากในปัจจุบันแต่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาจึงไม่มีพันธะผูกพันในการลดก๊าซเรือนกระจกตามเงื่อนไขของพิธีสารเกียวโต) ทำให้พันธกรณีระยะที่ 2 ของพิธีสารเกียวโตครอบคลุมประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมแล้วเพียงร้อยละ 11 ของที่ปล่อยทั่วโลก ถือได้ว่าเป็นปีที่พิธีสารเกียวโตหมดความสำคัญในฐานะกลไกการลดการปล่อยก๊าซฯ ของโลกอย่างเป็นทางการ ที่ประชุม COP18 ยืนยันที่จะจัดทำความตกลงฉบับใหม่ (เพื่อใช้แทนพิธีสารเกียวโต) ภายในปี พ.ศ. 2558 ( ค.ศ.2015) และต้องมีผลบังคับทางกฎหมายกับทุกประเทศภาคีในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) พ.ศ.2557 (ค.ศ.2014) IPCC เผยแพร่รายงานฉบับที่ 5 (IPCC AR5) ยืนยันว่ามนุษย์เป็นสาเหตุหลักของปัญหาโลกร้อน และหากไม่ต้องการให้โลกร้อนเกิน 2 องศาเซลเซียสในปลายศตวรรษนี้ ปริมาณโควต้าของก๊าซเรือนกระจกที่ทั่วโลกสามารถปล่อยได้จนถึงปลายศตวรรษเหลืออีกแค่ประมาณ 500 กิกกะตันคาร์บอน ปีพ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) การประชุม COP21 กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญที่จะสร้างข้อตกลงเพื่อเป็นกลไกระหว่างประเทศในการควบคุมอุณหภูมิโลกไม่ให้สูงขึ้นเกิน 2 องศา ภายในศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2100) ผลของการประชุมได้สร้างข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ซึ่งระบุให้แต่ละประเทศกำหนดเป้าหมายโดยสมัครใจในการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมกับประเทศของตนเอง โดยคำนึงถึงความเป็นธรรมและเท่าเทียมภายใต้บริบทการพัฒนาที่ยังยืน และระบุว่าประเทศพัฒนาแล้วจะช่วยกันระดมทุนจำนวน 100,000 ล้านดอลล่าร์ต่อปี ภายในปี พ.ศ. 2563 ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัว
การแปล กรุณารอสักครู่..