ภาพที่ 1 หลักพื้นฐานของการเรียนรู้แบบโครงงานซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบโค การแปล - ภาพที่ 1 หลักพื้นฐานของการเรียนรู้แบบโครงงานซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบโค อังกฤษ วิธีการพูด

ภาพที่ 1 หลักพื้นฐานของการเรียนรู้แ

ภาพที่ 1 หลักพื้นฐานของการเรียนรู้แบบโครงงาน
ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานนี้ ยึดหลักการของ constructionism ซึ่งพัฒนาต่อยอดจากทฤษฎีการ
สร้างความรู้ (Constructivism) ของ เพียเจต์ (Piaget) โดยศาสตราจารย์ เซมัวร์ เพพเพิร์ต (Seymour
Papert) เป็นผู้น าเสนอการใช้สื่อทางเทคโนโลยี ช่วยในการสร้างความรู้ที่เป็นรูปธรรมแก่ผู้เรียนโดยอาศัย
พลังความรู้ของตัวผู้เรียนเอง และเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมาก็จะเสมือนเป็นการสร้างความรู้ขึ้นใน
ตัวเองนั่นเอง ความรู้ที่สร้างขึ้นเองนี้มีความหมายต่อผู้เรียนมาก เพราะจะเป็นความรู้ที่อยู่คงทน ไม่ลืมง่าย
ขณะเดียวกันสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดของตัวเองได้ดีนอกจากนั้นความรู้ที่สร้างขึ้นเองนี้ ยัง
จะเป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด (ทิศนา แขมมณี, 2547)
ทฤษฎี constructionism มีสาระส าคัญที่กล่าวถึงว่า ความรู้ไม่ใช่เกิดจากผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่
สามารถสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเองได้ และการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนลงมือกระท าด้วยตนเอง
(Learning by Doing) ซึ่งการลงมือกระท านี้ ไม่เพียงแต่ได้รับความรู้ใหม่ด้วยตนเองแล้ว แต่ยังจะสามารถ
เก็บข้อมูลของสิ่งแวดล้อมเข้าไปเป็นโครงสร้างของสมองตนเอง ขณะเดียวกันก็สามารถน าความรู้เดิมที่มี
อยู่ปรับให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ และจะเกิดเป็นวงจรเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การลงมือกระท า2
ด้วยตนเองจะสามารถเชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้เก่าและความรู้ใหม่ สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา
ซึ่งทั้งหมดจะอยู่ภายใต้ประสบการณ์และบรรยากาศที่เอื้ออ านวยต่อการเรียนรู้ โดยยึดหลักคิดที่ว่า “การ
เรียนรู้ที่ดีไม่ได้มาจากการหาวิธีการสอนที่ดีแก่ผู้สอน แต่มาจากการให้โอกาสที่ดีแก่ผู้เรียนในการสร้าง”
(Better learning will not come from finding better ways for the teacher to instruct, but
from giving the learner better opportunities to construct)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Figure 1 basic principles of learning the project
project learning management — this task. Based on the principles of constructionism, which brings development from theory
awareness (Constructivism) of Pur che (Piaget) by Professor Seymour Moore (phaphoet page at
.Papert) is a proposed technological media, NATO help to create concrete knowledge to learners based on
.The power of knowledge to learners and to build something up, it will be a virtual knowledge creation depends on
.Themselves enough. This custom knowledge to learners, knowledge is very durable. Don't forget the easy
At the same time convey to others to understand their own thoughts as well in addition to the knowledge generated by this. The base will allow
can create new knowledge here is endless (direction na khaem ornament, 2547 (2004))
.Constructionism theory there can be mentioned-the knowledge that khan was not caused by the instructor alone but
can be created by the learners and learning occurs best when participants commit themselves to yaton Thao.
(Learning by Doing) is hands down the quail, which not only new knowledge has been manually, but also can
keep track of the environment into the structure of the brain itself. At the same time, existing knowledge of Club
.Is adapt to the external environment, and there will be a cycle like this consistently, so the quail to 2
self knowledge will be linked between the old knowledge and new knowledge. To create a new knowledge.
All of which will be governed by our experience and atmosphere, walk elegantly and gracefully to learn based on the principle that "
good learning does not come from finding out how good teaching as an instructor, but it comes from a good opportunity as well as a participant in the creation of"
.(Better learning will not come from finding better ways for the teacher to instruct, but
from giving the learner better opportunities to construct)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาพที่ 1 หลักพื้นฐานของการเรียนรู้แบบโครงงาน
ซึ่งการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานนี้ ยึดหลักการของ constructionism ซึ่งพัฒนาต่อยอดจากทฤษฎีการ
สร้างความรู้ (Constructivism) ของ เพียเจต์ (Piaget) โดยศาสตราจารย์ เซมัวร์ เพพเพิร์ต (Seymour
Papert) เป็นผู้น าเสนอการใช้สื่อทางเทคโนโลยี ช่วยในการสร้างความรู้ที่เป็นรูปธรรมแก่ผู้เรียนโดยอาศัย
พลังความรู้ของตัวผู้เรียนเอง และเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมาก็จะเสมือนเป็นการสร้างความรู้ขึ้นใน
ตัวเองนั่นเอง ความรู้ที่สร้างขึ้นเองนี้มีความหมายต่อผู้เรียนมาก เพราะจะเป็นความรู้ที่อยู่คงทน ไม่ลืมง่าย
ขณะเดียวกันสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดของตัวเองได้ดีนอกจากนั้นความรู้ที่สร้างขึ้นเองนี้ ยัง
จะเป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด (ทิศนา แขมมณี, 2547)
ทฤษฎี constructionism มีสาระส าคัญที่กล่าวถึงว่า ความรู้ไม่ใช่เกิดจากผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่
สามารถสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเองได้ และการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนลงมือกระท าด้วยตนเอง
(Learning by Doing) ซึ่งการลงมือกระท านี้ ไม่เพียงแต่ได้รับความรู้ใหม่ด้วยตนเองแล้ว แต่ยังจะสามารถ
เก็บข้อมูลของสิ่งแวดล้อมเข้าไปเป็นโครงสร้างของสมองตนเอง ขณะเดียวกันก็สามารถน าความรู้เดิมที่มี
อยู่ปรับให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ และจะเกิดเป็นวงจรเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การลงมือกระท า2
ด้วยตนเองจะสามารถเชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้เก่าและความรู้ใหม่ สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา
ซึ่งทั้งหมดจะอยู่ภายใต้ประสบการณ์และบรรยากาศที่เอื้ออ านวยต่อการเรียนรู้ โดยยึดหลักคิดที่ว่า “การ
เรียนรู้ที่ดีไม่ได้มาจากการหาวิธีการสอนที่ดีแก่ผู้สอน แต่มาจากการให้โอกาสที่ดีแก่ผู้เรียนในการสร้าง”
(Better learning will not come from finding better ways for the teacher to instruct, but
from giving the learner better opportunities to construct)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Image 1 principle of project-based learning
the project-based learning. ยึดหลักการ of constructionism which develop from the theory of knowledge (Constructivism) of Piaget (Piaget) by Professor Seymour, the pepper PERT (Seymour
Papert) who, presented using media technology Help to build the knowledge to the students by using concrete
The power of knowledge of the learner And when the learner to create something up to create knowledge in virtual
Yourself The knowledge that created this means to students Because it is not easy to know is durable.
At the same time can convey to others understand their own ideas as well as knowledge built it Also
will be the base for students to create new knowledge on the endless Na Kham, (the jewel 2547)
The theory constructionism matter, important mentioned Knowledge is not only caused by the instructor But
can be created by the participants themselves And learning to occur well when students do done manually
(Learning by Doing) which to act. This not only to acquire new knowledge by themselves But also can
data environment into a structure of brain themselves, while ก็สามา car, prior knowledge with
Is to adapt to the external environment The circuit continued, so this move is done 2
self can link the knowledge between old and new knowledge, knowledge Create a new knowledge up
All of which are under the experience and the atmosphere environment, facilities for learning by ยึดหลักคิด that "
learn better not from finding a good teaching method to teaching But from the good opportunity to the students to create a "
(Better learning will not come from finding better ways for the teacher, to instruct but
from giving the learner better Opportunities to construct)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: