Absorbing area (Impressive Communities). Image 1 image.As the exhibition room 1 rooms are zircon gemstone identification with Brown, and each community community. Exhibits about local community hatthasin community boasts 12 on Rattanakosin Island, to make the audience aware of the way of eating and reflection. The unique contemporary Rattanakosin style Thailand as wisdom of ancestors who have unique experience distinctive career in the arts.The First exhibition roomThis room is represented by Zircon , the light brown gem presenting how old of each community in Rattanakosin Island . Only a step towards the location of the community of community contracts appear compared the arrow leading the audience into a community. 1. the ban pencil or the nearby Church House, dinsopriwen road, giant assumes that the name of the House there are two pencils. First, there is the community that produced venom, which apply to solve the dinsophong phot rash. Use to clean silver jewelry etc. Second, it is a community made of pencils used to write the Board assumed command of the Commander of Prince Raj thon. 3. home LAN yan bang Khun prom. Nearby ban Phan Thom is a community that happens to come home and receive the produce Bible leaf yard for use with a stylus, or write to, used in a sermon.4. ban Phan Thom ย่านพานถมไม่ได้มีขอบเขตแค่เพียงตรอกบ้านพานถมบริเวณสะพานอุษาสวัสดิ์ ตรงข้ามวัดบวรนิเวศฯเท่านั้น ในอดีต แต่มีอาณาเขตเรื่อยยาวตามคลองรอบกรุง หรือคลองบางลำพูลงมาถึงบริเวณที่เป็นชุมชนตลาดวันชาติ และเรื่อยไปถึงวัดปรินายกปรากฏคำบอกเล่าว่า เป็นบ้านช่างฝีมือที่ประกอบอาชีพทำเครื่องถมประเภทขันน้ำและพานรองเป็นหลัก แต่ไม่มีหลักฐานบันทึกไว้แน่นอนว่าเกิดขึ้นเมื่อใด เครื่องถมของชุมชนนี้ได้รับเอารูปแบบมาจากกลุ่มคนที่อพยพมาจากเมืองนครศรีธรรมราช เครื่องถมของที่นี่ จะทำเป็นภาชนะรูปขัน พาน โถข้าว ถาด มีหลายขนาด ส่วนวัสดุที่นำมาทำเครื่องถมนั้น มีทั้ง เงิน ทองแดง และสมัยหลังจะใช้อลูมิเนียมเป็นวัสดุในการทำเครื่องถมด้วย ลวดลายเด่นๆ ได้แก่ ลายเทพพนม ลายพิกุล ลายช้าง สำหรับขั้นตอนหลักๆในการทำเครื่องถม จะเริ่มด้วยการหยอดชันลงในภาชนะที่ต้องการเพื่อให้ด้านในภาชนะใบนั้นแข็ง ทนต่อแรงกระแทกจากการแกะลาย และการเหยียบพื้นเพื่อให้ลวดลายต่างๆเด่นชัดขึ้นมา จากนั้นจึงนำภาชนะใบนั้นไปเผาเพื่อให้ชันละลายออกไป8. the House wires. Opposite the temple goddess RAM Chai is the first University community knit-woven strapping artisans prakhot or waist of the monks. In addition Community ban for a late bag encrusted with God kamenoi series. When the output is then sent to market the giant swing district. Production of complicated process starting from dyed cotton rope handle rolls of silk thread Jaipur travel. Locate the wire braid embroidery woven tassel is made etc when there are production machines faster than replace. Crafts that require time and efforts to this effect.10. the Community ban batอยู่บริเวณสี่แยกเมรุปูน ถนนบำรุงเมืองโดยบาตรของชาวชุมชนบ้านบาตรมีชื่อเสียงมาก เพราะเป็นบาตรพระบุด้วยมือ ต้องขึ้นรูปด้วยการตีเหล็กประสานเข้าด้วยกันทีละแผ่น และแบ่งหน้าที่กันทำตามกระบวนการ ประกอบด้วย ช่างตีขอบ ช่างต่อบาตร ช่างแล่น ช่างลาย ช่างตี และช่างตะไบ ซึ่งต้องอาศัยฝีมือและความอดทนอย่างสูง 12. ถนนตีทอง ถนนตีทองนี้ แต่เดิมเป็น ชุมชนบ้านช่างทอง คือบริเวณตั้งแต่สี่แยกคอกวัว ถึง ถนนตีทอง ในอดีต เป็นแหล่งผลิต ทองคำเปลว ซึ่งเป็นทองคำแผ่นบาง ๆ ที่ใช้ในการปิดเคารพสักการบูชาพระพุทธรูป หรือสิ่งเคารพ ตามความเชื่อถือ รวมถึงยังใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในงานศิลปะ และงานช่างฝีมือต่างๆ ซึ่งวิธีการตีทองนั้นจะนำทองคำแท่งมารีดให้เป็นแผ่นบาง หลังจากนั้นช่างตีทองสองคนต้องใช้ค้อนขนาดใหญ่ช่วยกันตีให้แผ่นทองกลายเป็นแผ่นบางแต่มีขนาดใหญ่ขึ้น ขั้นตอนในการทำยากลำบากและใช้เวลามาก ทำให้มีราคาค่อนข้างสูง แต่ปัจจุบันเหลือปรากฏเป็นเพียงชื่อถนนตีทอง ไม่มีกิจกรรมใดเกี่ยวกับทองคำเปลวเหลืออยู่ แต่อาชีพการผลิต และค้าทองคำเปลวยังคงหลงเหลืออยู่ในย่านแถบอื่น ห้องรัตนโกสินทร์เรืองโรจน์ (Grandeur Rattanakosin ภาพที่ 13 ภาพ เป็นนิทรรศการห้องที่ 2 ร่วมย้อนกลับไปสู่เมื่อครั้งแรกเริ่มสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ด้วยภาพยนตร์สื่อผสม 4 มิติ ชัดเจนทั้งภาพ เสียง และ สัมผัส นำเสนอประวัติความเป็นมาของการกำเนิดกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ยิ่งใหญ่ทัดเทียมกรุงศรีอยุธยา ด้วยพระอัจฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งบรมราชจักรีห้องเกียรติยศแผ่นดินสยาม (The Prestige of the Kingdom) ภาพที่ 15 ภาพในห้องเกียรติยศแผ่นดินสยามเป็นนิทรรศการห้องที่ 3 สื่อแทนด้วยบุษราคัม อัญมณีสีเหลืองทองอร่ามดุจดังรูปลักษณ์ของพระบรมมหาราชวัง จัดแสดงเกี่ยวกับพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงถึงเกียรติยศของแผ่นดิน ที่สะท้อนผ่านงานด้านสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม อันประณีต รวมถึงตำนานของพระแก้วมรกต และวิถีชีวิตของสาวชาววังพระบรมมหาราชวัง ภาพที่ 16 แบบจำลองและวีดีทัศน์เกี่ยวส่วนต่างๆของพระบรมมหาราชวังพระบรมมหาราชวังเคยเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์มาตลอดตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 ปัจจุบันเป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีที่สำคัญ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และเป็นที่รับแขกเมือง และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้งเป็นที่ตั้งพระบรมศพและพระศพของพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง นอกจากนี้ยังมีหมู่พระที่นั่งต่างๆ สร้างขึ้นด้วยความประณีตบรรจงงดงาม ซึ่งนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง รวมถึงมีวัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดประจำพระราชวัง ที่ประดิษฐานพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย มีเนื้อที่จริง 152 ไร่ กับ2 งาน แบ่งออกเป็น 3 เขตพระราชฐาน ได้แก่ เขตพระราชฐานชั้นนอก เขตพระราชฐานชั้นกลาง และเขตพระราชฐานชั้นในเขตพระราชฐานชั้นกลาง
เขตพระราชฐานชั้นกลาง นับตั้งแต่ประตูพิมานไชยศรีถึงประตูสนามราชกิจ เป็นที่ตั้งของปราสาทราชมณเฑียรทั้งสถาปัตยกรรมไทยและตะวันตก ใช้ประกอบพระราชพิธีสำคัญ ๆ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีฉัตรมงคล และพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เป็นต้น ประกอบไปด้วย
หมู่พระที่นั่งจักรี
การแปล กรุณารอสักครู่..