ประวัติความเป็นมาของภูเก็ต มีหลายกระแส บ้างก็ว่าภูเก็ตเป็นเกาะ ที่ค้นพ การแปล - ประวัติความเป็นมาของภูเก็ต มีหลายกระแส บ้างก็ว่าภูเก็ตเป็นเกาะ ที่ค้นพ อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของภูเก็ต มีหลายกร

ประวัติความเป็นมาของภูเก็ต มีหลายกระแส บ้างก็ว่าภูเก็ตเป็นเกาะ ที่ค้นพบโดยชาวประมง แต่เดิมเรียกว่า “บูกิต” ซึ่งเป็นภาษามลายูแปลว่าภูเขา เพราะเมื่อมองจากทะเล จะเห็นเหมือนมีภูเขา โผล่ขึ้นกลางน้ำ แต่บางกระแส ก็ว่าภูเก็ตมาจากคำว่า “ภูเก็จ” แปลว่าภูเขาที่มีค่า ซึ่งคำว่าภูเก็จนี้มีบันทึก ในเอกสารเมืองถลางว่า ใช้กันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2328 มีฐานะเป็นเมือง ที่ขึ้นตรงต่อเมืองถลาง ซึ่งต่อมาคำนี้ได้เปลี่ยนเป็น “ภูเก็ต” โดยไม่ทราบสาเหตุ ดังมีปรากฏอยู่ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2450 เป็นต้นมา โดยเริ่มเป็นที่รู้จักกัน ในฐานะ มณฑลภูเก็ต ในสมัยรัชกาลที่ 5 และเปลี่ยนมาเป็น จังหวัดภูเก็ต ในเวลาต่อมา

วิวัฒนาการของภูเก็ต มีอยู่หลายช่วงด้วยกัน นับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เห็นได้จากมีการขุดพบหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ คือ เครื่องมือหิน และขวานหิน ที่บ้านกมลา อ.กะทู้ โดยจากการตรวจสอบ ทำให้ทราบว่าหลักฐานดังกล่าว มีอายุไม่ต่ำกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า เกาะภูเก็ตมีผู้คนอาศัยอยู่ ตั้งแต่ก่อนสมัยประวัติศาสตร์

ในสมัยอาณาจักรกรีกโบราณ ก็ได้มีการกล่าวถึงภูเก็ต ในนามของแหลมจังซีลอน ตามแผนที่ของปโตเลมี (นักภูมิศาสตร์ชาวกรีก) ซึ่งสันนิษฐานว่า ขณะนั้นภูเก็ตยังเป็นแหลมติดกับแผ่นดินใหญ่ ก่อนที่พื้นดินบริเวณช่องปากพระ (ร่องน้ำระหว่างจังหวัดพังงา และภูเก็ต) จะถูกน้ำกัดเซาะ จนขาดจากกัน แสดงให้เห็นว่าภูเก็ต เป็นที่รู้จักของนักเดินทางในขณะนั้นแล้ว ในนามของแหลมจังซีลอน

ภูเก็ตเป็นเมืองประเทศราช ของอาณาจักรต่างๆ เรื่อยมาตั้งแต่ประมาณ ต้นพุทธศตวรรษ 800 ไม่ว่าจะเป็นอาณาจักรตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรศิริธรรมราช อาณาจักรสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งเป็นจังหวัดหนึ่ง ในประเทศไทยในปัจจุบัน โดยผ่านเหตุการณ์ต่างๆมามากมาย ตั้งแต่เป็นเมืองท่าที่สำคัญ ในการเดินทางระหว่างสุวรรณภูมิ และทวีปอินเดีย ศูนย์กลางสำคัญ ในการค้าขาย-ทำเหมืองแร่ดีบุก และปัจจุบันเป็นเมืองท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงระดับโลก

สำหรับประวัติศาสตร์ที่สามารถอ้างอิงได้ และมีการบันทึกไว้อย่างชัดเจน เกี่ยวกับภูเก็ตนั้นพอจะสรุปได้ดังนี้

สมัยกรุงศรีอยุธยา
ชาวโปรตุเกสได้เข้ามาตั้งห้างค้าแร่ดีบุก ในเมืองถลาง เมื่อปี พ.ศ. 2126 ต่อมาในปีพ.ศ.2169 พระเจ้าทรงธรรมทรงทำสัญญา ให้ดัตช์เข้ามาผูกขาดการรับซื้อแร่ดีบุก ที่ถลางได้ เนื่องจากชาวดัตช์เริ่มเข้ามามีอิทธิพล บนเกาะชวามากขึ้น แต่ชาวถลางก็ลุกขึ้นสู้การกดขี่ของชาวดัตช์ โดยขับไล่ไปจากเกาะในปี พ.ศ. 2210 และต่อมาในสมัยพระนารายณ์มหาราช ทรงมีดำริที่จะให้สัมปทาน แก่ชาวฝรั่งเศส มาสร้างห้าง และผูกขาดการค้าแร่ดีบุกที่ถลาง (ยกเลิกไปในสมัยสมเด็จพระเพทราชา)

สมัยรัตนโกสินทร์-ปัจจุบัน
ในสมัยรัชกาลที่ 1(พ.ศ.2328) เกิดศึกถลางขึ้น ซึ่งคุณหญิงจัน และคุณหญิงมุกร่วมกับชาวถลาง ต้านศึกพม่าได้สำเร็จ จนได้รับราชทินนามตำแหน่ง เป็นท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทร

ต่อมาในปี พ.ศ.2352 เกิดศึกถลางครั้งที่สองขึ้น ถลางพ่ายแพ้แก่ทัพพม่า อย่างยับเยิน เมืองถลาง กลายเป็นเมืองร้าง

15 ปีต่อมา ( พ.ศ.2367) รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้รื้อฟื้นสร้างเมืองใหม่ ที่บ้านท่าเรือ ประจวบกับช่วงนั้น มีการพบสายแร่ ที่บ้านเก็ตโฮ่ (อ.กะทู้) และที่บ้านทุ่งคา (อ.เมืองภูเก็ต) ความเจริญ และชุมชนเมืองจึงย้ายไปตามแหล่ง ที่พบสายแร่แต่เมืองเหล่านั้น (บ้านกะทู้ , บ้านทุ่งคา) แต่ก็อยู่ในฐานะเมืองบริวารของถลาง

ช่วงสมัยรัชกาลที่ 3-4 กิจการเหมืองแร่ มีความเจริญก้าวหน้ามาก เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการส่งส่วย “ดีบุก” มาเป็นการผูกขาดเก็บภาษีอากรแบบ “เหมาเมือง” ตลอดจนมีการทำ สนธิสัญญา กับต่างชาติ ส่งผลให้ธุรกิจการค้าดีบุก ขยายตัวอย่างกว้างขวาง คนจีนพากันหลั่งไหล เข้ามาทำเหมืองจนกลายเป็นชนกลุ่มใหญ่ ในภูเก็ตจนถึงปัจจุบัน

ในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2435) ได้มีการปฏิรูปการปกครอง เป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล มีการแต่งตั้งให้พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต และในช่วงนี้เองที่ภูเก็ต เริ่มมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีพระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นผู้วางรากฐาน ด้านต่างๆ ทั้งระบบสาธารณูปโภค เช่น การสร้างถนน, การพัฒนา ทางเศรษฐกิจ ฯลฯ และวางรากฐานการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจในภูเก็ต คือ ตรา พ.ร.บ.เหมืองแร่, ริเริ่มการปลูกยางพารา ในภาคใต้ของประเทศไทยรวมทั้งภูเก็ต

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมากิจการเหมืองแร่เริ่มซบเซาลง กลุ่มนักลงทุนเริ่มมีแนวคิด ในการนำธุรกิจการท่องเที่ยว เข้ามาแทนที่ การทำเหมืองแร่ และในวันที่ 23 มิถุนายน 2529 ได้เกิดเหตุการณ์ เผาโรงงานถลุงแร่แทนทาลัม นับเป็นการปิดฉากธุรกิจเหมืองแร่ ในภูเก็ตอย่างแท้จริง การท่องเที่ยวกลายเป็นทางเลือกใหม่ของคนภูเก็ต

เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
หลวงพ่อแช่มวัดฉลอง - กลุ่มอั้งยี่
จากการที่เมืองภูเก็ตมีชาวจีนมาอยู่อาศัยมาก ทำให้มีสมาคมลับหรือ “อั้งยี่” เกิดขึ้น โดยแบ่งเป็น สองพวกใหญ่ คือ กลุ่มปุนเถ้าก๋ง มีอิทธิพลอยู่ในบ้านกะทู้ ซึ่งเป็นแหล่งทำเหมือง ที่มีชาวจีนอยู่มาก และอีกพวกหนึ่งคือ กลุ่มเกี้ยนเต็ก มีเขตอิทธิพลอยู่ในตัวตลาดเมืองภูเก็ต ซึ่งอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม เป็นศัตรูคู่อริที่มักก่อเหตุวุ่นวายอยู่เนืองๆ โดยก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรง ครั้งใหญ่สามครั้งด้วยกัน คือ

เหตุการณ์จลาจลครั้งแรก เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2410 พวกอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม ได้ยกพวกฆ่าฟันกัน เพื่อแย่งชิงสายน้ำล้างแร่ จนกลายเป็นจลาจล ข้าหลวงส่วนกลาง ต้องเข้าระงับเหตุและปราบปราม เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้รัฐบาล ต้องเลี้ยงอั้งยี่ คือเลือกคนจีนที่มีพรรคพวกนับถือมากตั้งเป็น “หัวหน้าต้นแซ่” ควบคุมดูแลคนของตน และหากคนของตน คับข้องใจต้องการร้องทุกข์ หัวหน้าต้นแซ่ จะเป็นผู้เสนอคำร้องนั้น ให้แก่ทางการต่อไป

ต่อมาในปี พ.ศ.2419 ได้เกิดเหตุจลาจลขึ้นอีกครั้งการ โดยครั้งนี้เป็นการจลาจลครั้งใหญ่ เกิดจากอั้งยี่ปุนเถ้าก๋ง ไม่พอใจที่นายเหมือง ไม่จ่ายค่าแรง เนื่องจากภาวะราคาดีบุกตกต่ำ ประกอบกับมีความแค้นเคืองเจ้าเมืองเป็นทุนเดิม จึงได้มีการรวบรวมสมัครพรรคพวกกว่า 2,000 คน ก่อการกบฏ เข้าล้อมศาลากลาง และมีการปล้น-ฆ่าราษฎรไทย ความรุนแรงที่เกิดขึ้นนี้ เกินกำล
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของภูเก็ต มีหลายกระแส บ้างก็ว่าภูเก็ตเป็นเกาะ ที่ค้นพบโดยชาวประมง แต่เดิมเรียกว่า “บูกิต” ซึ่งเป็นภาษามลายูแปลว่าภูเขา เพราะเมื่อมองจากทะเล จะเห็นเหมือนมีภูเขา โผล่ขึ้นกลางน้ำ แต่บางกระแส ก็ว่าภูเก็ตมาจากคำว่า “ภูเก็จ” แปลว่าภูเขาที่มีค่า ซึ่งคำว่าภูเก็จนี้มีบันทึก ในเอกสารเมืองถลางว่า ใช้กันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2328 มีฐานะเป็นเมือง ที่ขึ้นตรงต่อเมืองถลาง ซึ่งต่อมาคำนี้ได้เปลี่ยนเป็น “ภูเก็ต” โดยไม่ทราบสาเหตุ ดังมีปรากฏอยู่ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2450 เป็นต้นมา โดยเริ่มเป็นที่รู้จักกัน ในฐานะ มณฑลภูเก็ต ในสมัยรัชกาลที่ 5 และเปลี่ยนมาเป็น จังหวัดภูเก็ต ในเวลาต่อมาวิวัฒนาการของภูเก็ต มีอยู่หลายช่วงด้วยกัน นับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เห็นได้จากมีการขุดพบหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ คือ เครื่องมือหิน และขวานหิน ที่บ้านกมลา อ.กะทู้ โดยจากการตรวจสอบ ทำให้ทราบว่าหลักฐานดังกล่าว มีอายุไม่ต่ำกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า เกาะภูเก็ตมีผู้คนอาศัยอยู่ ตั้งแต่ก่อนสมัยประวัติศาสตร์ ในสมัยอาณาจักรกรีกโบราณ ก็ได้มีการกล่าวถึงภูเก็ต ในนามของแหลมจังซีลอน ตามแผนที่ของปโตเลมี (นักภูมิศาสตร์ชาวกรีก) ซึ่งสันนิษฐานว่า ขณะนั้นภูเก็ตยังเป็นแหลมติดกับแผ่นดินใหญ่ ก่อนที่พื้นดินบริเวณช่องปากพระ (ร่องน้ำระหว่างจังหวัดพังงา และภูเก็ต) จะถูกน้ำกัดเซาะ จนขาดจากกัน แสดงให้เห็นว่าภูเก็ต เป็นที่รู้จักของนักเดินทางในขณะนั้นแล้ว ในนามของแหลมจังซีลอน
ภูเก็ตเป็นเมืองประเทศราช ของอาณาจักรต่างๆ เรื่อยมาตั้งแต่ประมาณ ต้นพุทธศตวรรษ 800 ไม่ว่าจะเป็นอาณาจักรตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรศิริธรรมราช อาณาจักรสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งเป็นจังหวัดหนึ่ง ในประเทศไทยในปัจจุบัน โดยผ่านเหตุการณ์ต่างๆมามากมาย ตั้งแต่เป็นเมืองท่าที่สำคัญ ในการเดินทางระหว่างสุวรรณภูมิ และทวีปอินเดีย ศูนย์กลางสำคัญ ในการค้าขาย-ทำเหมืองแร่ดีบุก และปัจจุบันเป็นเมืองท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงระดับโลก

สำหรับประวัติศาสตร์ที่สามารถอ้างอิงได้ และมีการบันทึกไว้อย่างชัดเจน เกี่ยวกับภูเก็ตนั้นพอจะสรุปได้ดังนี้

สมัยกรุงศรีอยุธยา
ชาวโปรตุเกสได้เข้ามาตั้งห้างค้าแร่ดีบุก ในเมืองถลาง เมื่อปี พ.ศ. 2126 ต่อมาในปีพ.ศ.2169 พระเจ้าทรงธรรมทรงทำสัญญา ให้ดัตช์เข้ามาผูกขาดการรับซื้อแร่ดีบุก ที่ถลางได้ เนื่องจากชาวดัตช์เริ่มเข้ามามีอิทธิพล บนเกาะชวามากขึ้น แต่ชาวถลางก็ลุกขึ้นสู้การกดขี่ของชาวดัตช์ โดยขับไล่ไปจากเกาะในปี พ.ศ. 2210 และต่อมาในสมัยพระนารายณ์มหาราช ทรงมีดำริที่จะให้สัมปทาน แก่ชาวฝรั่งเศส มาสร้างห้าง และผูกขาดการค้าแร่ดีบุกที่ถลาง (ยกเลิกไปในสมัยสมเด็จพระเพทราชา)

สมัยรัตนโกสินทร์-ปัจจุบัน
ในสมัยรัชกาลที่ 1(พ.ศ.2328) เกิดศึกถลางขึ้น ซึ่งคุณหญิงจัน และคุณหญิงมุกร่วมกับชาวถลาง ต้านศึกพม่าได้สำเร็จ จนได้รับราชทินนามตำแหน่ง เป็นท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทร

ต่อมาในปี พ.ศ.2352 เกิดศึกถลางครั้งที่สองขึ้น ถลางพ่ายแพ้แก่ทัพพม่า อย่างยับเยิน เมืองถลาง กลายเป็นเมืองร้าง

15 ปีต่อมา ( พ.ศ.2367) รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้รื้อฟื้นสร้างเมืองใหม่ ที่บ้านท่าเรือ ประจวบกับช่วงนั้น มีการพบสายแร่ ที่บ้านเก็ตโฮ่ (อ.กะทู้) และที่บ้านทุ่งคา (อ.เมืองภูเก็ต) ความเจริญ และชุมชนเมืองจึงย้ายไปตามแหล่ง ที่พบสายแร่แต่เมืองเหล่านั้น (บ้านกะทู้ , บ้านทุ่งคา) แต่ก็อยู่ในฐานะเมืองบริวารของถลาง

ช่วงสมัยรัชกาลที่ 3-4 กิจการเหมืองแร่ มีความเจริญก้าวหน้ามาก เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการส่งส่วย “ดีบุก” มาเป็นการผูกขาดเก็บภาษีอากรแบบ “เหมาเมือง” ตลอดจนมีการทำ สนธิสัญญา กับต่างชาติ ส่งผลให้ธุรกิจการค้าดีบุก ขยายตัวอย่างกว้างขวาง คนจีนพากันหลั่งไหล เข้ามาทำเหมืองจนกลายเป็นชนกลุ่มใหญ่ ในภูเก็ตจนถึงปัจจุบัน

ในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2435) ได้มีการปฏิรูปการปกครอง เป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล มีการแต่งตั้งให้พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต และในช่วงนี้เองที่ภูเก็ต เริ่มมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีพระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นผู้วางรากฐาน ด้านต่างๆ ทั้งระบบสาธารณูปโภค เช่น การสร้างถนน, การพัฒนา ทางเศรษฐกิจ ฯลฯ และวางรากฐานการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจในภูเก็ต คือ ตรา พ.ร.บ.เหมืองแร่, ริเริ่มการปลูกยางพารา ในภาคใต้ของประเทศไทยรวมทั้งภูเก็ต

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมากิจการเหมืองแร่เริ่มซบเซาลง กลุ่มนักลงทุนเริ่มมีแนวคิด ในการนำธุรกิจการท่องเที่ยว เข้ามาแทนที่ การทำเหมืองแร่ และในวันที่ 23 มิถุนายน 2529 ได้เกิดเหตุการณ์ เผาโรงงานถลุงแร่แทนทาลัม นับเป็นการปิดฉากธุรกิจเหมืองแร่ ในภูเก็ตอย่างแท้จริง การท่องเที่ยวกลายเป็นทางเลือกใหม่ของคนภูเก็ต

เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
หลวงพ่อแช่มวัดฉลอง - กลุ่มอั้งยี่
จากการที่เมืองภูเก็ตมีชาวจีนมาอยู่อาศัยมาก ทำให้มีสมาคมลับหรือ “อั้งยี่” เกิดขึ้น โดยแบ่งเป็น สองพวกใหญ่ คือ กลุ่มปุนเถ้าก๋ง มีอิทธิพลอยู่ในบ้านกะทู้ ซึ่งเป็นแหล่งทำเหมือง ที่มีชาวจีนอยู่มาก และอีกพวกหนึ่งคือ กลุ่มเกี้ยนเต็ก มีเขตอิทธิพลอยู่ในตัวตลาดเมืองภูเก็ต ซึ่งอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม เป็นศัตรูคู่อริที่มักก่อเหตุวุ่นวายอยู่เนืองๆ โดยก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรง ครั้งใหญ่สามครั้งด้วยกัน คือ

เหตุการณ์จลาจลครั้งแรก เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2410 พวกอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม ได้ยกพวกฆ่าฟันกัน เพื่อแย่งชิงสายน้ำล้างแร่ จนกลายเป็นจลาจล ข้าหลวงส่วนกลาง ต้องเข้าระงับเหตุและปราบปราม เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้รัฐบาล ต้องเลี้ยงอั้งยี่ คือเลือกคนจีนที่มีพรรคพวกนับถือมากตั้งเป็น “หัวหน้าต้นแซ่” ควบคุมดูแลคนของตน และหากคนของตน คับข้องใจต้องการร้องทุกข์ หัวหน้าต้นแซ่ จะเป็นผู้เสนอคำร้องนั้น ให้แก่ทางการต่อไป

ต่อมาในปี พ.ศ.2419 ได้เกิดเหตุจลาจลขึ้นอีกครั้งการ โดยครั้งนี้เป็นการจลาจลครั้งใหญ่ เกิดจากอั้งยี่ปุนเถ้าก๋ง ไม่พอใจที่นายเหมือง ไม่จ่ายค่าแรง เนื่องจากภาวะราคาดีบุกตกต่ำ ประกอบกับมีความแค้นเคืองเจ้าเมืองเป็นทุนเดิม จึงได้มีการรวบรวมสมัครพรรคพวกกว่า 2,000 คน ก่อการกบฏ เข้าล้อมศาลากลาง และมีการปล้น-ฆ่าราษฎรไทย ความรุนแรงที่เกิดขึ้นนี้ เกินกำล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของภูเก็ต มีหลายกระแส บ้างก็ว่าภูเก็ตเป็นเกาะ ที่ค้นพบโดยชาวประมง แต่เดิมเรียกว่า “บูกิต” ซึ่งเป็นภาษามลายูแปลว่าภูเขา เพราะเมื่อมองจากทะเล จะเห็นเหมือนมีภูเขา โผล่ขึ้นกลางน้ำ แต่บางกระแส ก็ว่าภูเก็ตมาจากคำว่า “ภูเก็จ” แปลว่าภูเขาที่มีค่า ซึ่งคำว่าภูเก็จนี้มีบันทึก ในเอกสารเมืองถลางว่า ใช้กันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2328 มีฐานะเป็นเมือง ที่ขึ้นตรงต่อเมืองถลาง ซึ่งต่อมาคำนี้ได้เปลี่ยนเป็น “ภูเก็ต” โดยไม่ทราบสาเหตุ ดังมีปรากฏอยู่ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2450 เป็นต้นมา โดยเริ่มเป็นที่รู้จักกัน ในฐานะ มณฑลภูเก็ต ในสมัยรัชกาลที่ 5 และเปลี่ยนมาเป็น จังหวัดภูเก็ต ในเวลาต่อมา

วิวัฒนาการของภูเก็ต มีอยู่หลายช่วงด้วยกัน นับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เห็นได้จากมีการขุดพบหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ คือ เครื่องมือหิน และขวานหิน ที่บ้านกมลา อ.กะทู้ โดยจากการตรวจสอบ ทำให้ทราบว่าหลักฐานดังกล่าว มีอายุไม่ต่ำกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า เกาะภูเก็ตมีผู้คนอาศัยอยู่ ตั้งแต่ก่อนสมัยประวัติศาสตร์

ในสมัยอาณาจักรกรีกโบราณ ก็ได้มีการกล่าวถึงภูเก็ต ในนามของแหลมจังซีลอน ตามแผนที่ของปโตเลมี (นักภูมิศาสตร์ชาวกรีก) ซึ่งสันนิษฐานว่า ขณะนั้นภูเก็ตยังเป็นแหลมติดกับแผ่นดินใหญ่ ก่อนที่พื้นดินบริเวณช่องปากพระ (ร่องน้ำระหว่างจังหวัดพังงา และภูเก็ต) จะถูกน้ำกัดเซาะ จนขาดจากกัน แสดงให้เห็นว่าภูเก็ต เป็นที่รู้จักของนักเดินทางในขณะนั้นแล้ว ในนามของแหลมจังซีลอน

ภูเก็ตเป็นเมืองประเทศราช ของอาณาจักรต่างๆ เรื่อยมาตั้งแต่ประมาณ ต้นพุทธศตวรรษ 800 ไม่ว่าจะเป็นอาณาจักรตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรศิริธรรมราช อาณาจักรสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งเป็นจังหวัดหนึ่ง ในประเทศไทยในปัจจุบัน โดยผ่านเหตุการณ์ต่างๆมามากมาย ตั้งแต่เป็นเมืองท่าที่สำคัญ ในการเดินทางระหว่างสุวรรณภูมิ และทวีปอินเดีย ศูนย์กลางสำคัญ ในการค้าขาย-ทำเหมืองแร่ดีบุก และปัจจุบันเป็นเมืองท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงระดับโลก

สำหรับประวัติศาสตร์ที่สามารถอ้างอิงได้ และมีการบันทึกไว้อย่างชัดเจน เกี่ยวกับภูเก็ตนั้นพอจะสรุปได้ดังนี้

สมัยกรุงศรีอยุธยา
ชาวโปรตุเกสได้เข้ามาตั้งห้างค้าแร่ดีบุก ในเมืองถลาง เมื่อปี พ.ศ. 2126 ต่อมาในปีพ.ศ.2169 พระเจ้าทรงธรรมทรงทำสัญญา ให้ดัตช์เข้ามาผูกขาดการรับซื้อแร่ดีบุก ที่ถลางได้ เนื่องจากชาวดัตช์เริ่มเข้ามามีอิทธิพล บนเกาะชวามากขึ้น แต่ชาวถลางก็ลุกขึ้นสู้การกดขี่ของชาวดัตช์ โดยขับไล่ไปจากเกาะในปี พ.ศ. 2210 และต่อมาในสมัยพระนารายณ์มหาราช ทรงมีดำริที่จะให้สัมปทาน แก่ชาวฝรั่งเศส มาสร้างห้าง และผูกขาดการค้าแร่ดีบุกที่ถลาง (ยกเลิกไปในสมัยสมเด็จพระเพทราชา)

สมัยรัตนโกสินทร์-ปัจจุบัน
ในสมัยรัชกาลที่ 1(พ.ศ.2328) เกิดศึกถลางขึ้น ซึ่งคุณหญิงจัน และคุณหญิงมุกร่วมกับชาวถลาง ต้านศึกพม่าได้สำเร็จ จนได้รับราชทินนามตำแหน่ง เป็นท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทร

ต่อมาในปี พ.ศ.2352 เกิดศึกถลางครั้งที่สองขึ้น ถลางพ่ายแพ้แก่ทัพพม่า อย่างยับเยิน เมืองถลาง กลายเป็นเมืองร้าง

15 ปีต่อมา ( พ.ศ.2367) รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้รื้อฟื้นสร้างเมืองใหม่ ที่บ้านท่าเรือ ประจวบกับช่วงนั้น มีการพบสายแร่ ที่บ้านเก็ตโฮ่ (อ.กะทู้) และที่บ้านทุ่งคา (อ.เมืองภูเก็ต) ความเจริญ และชุมชนเมืองจึงย้ายไปตามแหล่ง ที่พบสายแร่แต่เมืองเหล่านั้น (บ้านกะทู้ , บ้านทุ่งคา) แต่ก็อยู่ในฐานะเมืองบริวารของถลาง

ช่วงสมัยรัชกาลที่ 3-4 กิจการเหมืองแร่ มีความเจริญก้าวหน้ามาก เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการส่งส่วย “ดีบุก” มาเป็นการผูกขาดเก็บภาษีอากรแบบ “เหมาเมือง” ตลอดจนมีการทำ สนธิสัญญา กับต่างชาติ ส่งผลให้ธุรกิจการค้าดีบุก ขยายตัวอย่างกว้างขวาง คนจีนพากันหลั่งไหล เข้ามาทำเหมืองจนกลายเป็นชนกลุ่มใหญ่ ในภูเก็ตจนถึงปัจจุบัน

ในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2435) ได้มีการปฏิรูปการปกครอง เป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล มีการแต่งตั้งให้พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต และในช่วงนี้เองที่ภูเก็ต เริ่มมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีพระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นผู้วางรากฐาน ด้านต่างๆ ทั้งระบบสาธารณูปโภค เช่น การสร้างถนน, การพัฒนา ทางเศรษฐกิจ ฯลฯ และวางรากฐานการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจในภูเก็ต คือ ตรา พ.ร.บ.เหมืองแร่, ริเริ่มการปลูกยางพารา ในภาคใต้ของประเทศไทยรวมทั้งภูเก็ต

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมากิจการเหมืองแร่เริ่มซบเซาลง กลุ่มนักลงทุนเริ่มมีแนวคิด ในการนำธุรกิจการท่องเที่ยว เข้ามาแทนที่ การทำเหมืองแร่ และในวันที่ 23 มิถุนายน 2529 ได้เกิดเหตุการณ์ เผาโรงงานถลุงแร่แทนทาลัม นับเป็นการปิดฉากธุรกิจเหมืองแร่ ในภูเก็ตอย่างแท้จริง การท่องเที่ยวกลายเป็นทางเลือกใหม่ของคนภูเก็ต

เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
หลวงพ่อแช่มวัดฉลอง - กลุ่มอั้งยี่
จากการที่เมืองภูเก็ตมีชาวจีนมาอยู่อาศัยมาก ทำให้มีสมาคมลับหรือ “อั้งยี่” เกิดขึ้น โดยแบ่งเป็น สองพวกใหญ่ คือ กลุ่มปุนเถ้าก๋ง มีอิทธิพลอยู่ในบ้านกะทู้ ซึ่งเป็นแหล่งทำเหมือง ที่มีชาวจีนอยู่มาก และอีกพวกหนึ่งคือ กลุ่มเกี้ยนเต็ก มีเขตอิทธิพลอยู่ในตัวตลาดเมืองภูเก็ต ซึ่งอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม เป็นศัตรูคู่อริที่มักก่อเหตุวุ่นวายอยู่เนืองๆ โดยก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรง ครั้งใหญ่สามครั้งด้วยกัน คือ

เหตุการณ์จลาจลครั้งแรก เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2410 พวกอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม ได้ยกพวกฆ่าฟันกัน เพื่อแย่งชิงสายน้ำล้างแร่ จนกลายเป็นจลาจล ข้าหลวงส่วนกลาง ต้องเข้าระงับเหตุและปราบปราม เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้รัฐบาล ต้องเลี้ยงอั้งยี่ คือเลือกคนจีนที่มีพรรคพวกนับถือมากตั้งเป็น “หัวหน้าต้นแซ่” ควบคุมดูแลคนของตน และหากคนของตน คับข้องใจต้องการร้องทุกข์ หัวหน้าต้นแซ่ จะเป็นผู้เสนอคำร้องนั้น ให้แก่ทางการต่อไป

ต่อมาในปี พ.ศ.2419 ได้เกิดเหตุจลาจลขึ้นอีกครั้งการ โดยครั้งนี้เป็นการจลาจลครั้งใหญ่ เกิดจากอั้งยี่ปุนเถ้าก๋ง ไม่พอใจที่นายเหมือง ไม่จ่ายค่าแรง เนื่องจากภาวะราคาดีบุกตกต่ำ ประกอบกับมีความแค้นเคืองเจ้าเมืองเป็นทุนเดิม จึงได้มีการรวบรวมสมัครพรรคพวกกว่า 2,000 คน ก่อการกบฏ เข้าล้อมศาลากลาง และมีการปล้น-ฆ่าราษฎรไทย ความรุนแรงที่เกิดขึ้นนี้ เกินกำล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The history of the city, there are many streams, some say Phuket Island, discovered by fishermen, originally called "Bukit" which in Malay means mountain. Because when seen from the sea, you will see a mountain, rises in the water, but some current."Phuket" means mountain, with the value, which is the word Phuket is recorded in the documents, Mueang Phuket that use ready from B.Professor 2328 a city where the Mueang Phuket which later this change. ")" by unknown causes the books appeared in the Government Gazette. Since 2001.2450 onwards, starting is known as a county in the reign of 5 and change to Phuket. At a later time

.The evolution of Phuket. There are many times. Since prehistoric times. Seen from a dig found evidence of history is a quarry and Tomahawk ที่บ้านกมลา. A.Kathu, by verifying that such evidence is not less than 3 000, years ago. Therefore, it can be concluded that... The island people live. Since before history

.In the days of the kingdom of ancient Greece, it is said to Phuket on behalf of the Cape jungceylon according to a map of the Ptolemy (Greek geographers), which assumed. At that time travel is also keen on the mainland. Before the ground in the oral cavity.And Phuket) will be water erosion and separated shows Phuket is known to travelers at the moment, on behalf of the Cape jungceylon
.
.In a city of the kingdom of the ever since about the referable 800, whether it is an Ahom Kingdom, Srivijaya. The kingdom of Sukhothai Siri Thammarat Ayutthaya province until one.Through various events in abundance. Since a major seaport In the travel between the airport and the Indian continent, the center is important in the trade - do เหมืองแร่ดีบุก. And is now a world famous tourism city
.
for history can refer to it. And have recorded clearly. About Phuket can summarized as follows:


in the Ayutthaya period Portuguese set the ค้าแร่ tin, Mueang Phuket in the 2126 later in the year2169 พระเจ้าทรงธรรม had a contract. To the Dutch monopoly in purchase of tin ore, Talang, because the Dutch began to have an influence on the island of Java. But the cockroach's fight oppression of the Dutch by driven from the island in the 1930s2210 and later in the reign of King Narai the great, he has thought to make concessions to the French to build department and trade monopoly tin ore at Thalang (cancelled in the Japanese media)


in the reign of Rattanakosin period - present 1 (1999)2328) was born in Talang, which คุณหญิงจัน and คุณหญิงมุก Thalang against war with the Burmese success. Finally received bone vibrators position is independent. Record label

later in the year.There was a battle 2352 Talang Talang second up defeated the Burmese army, the fray. กลายเป็นเมือง built Mueang Phuket

15 years later (1999)2367) during the reign of 3 graciously to revive a new town at home port, coinciding with the it is discovered mineral at the supermarket Ho (Kathu). And at home in Thung Kha (A.Phuket Town) prosperity and urban moved according to the source. The mineral, but those cities (home Kathu, ban Thung Kha). But as the Acropolis of Talang

.During the reign of 3-4 mining venture with the progress, due to changes in the form of tribute "tin" a monopoly tax duties. "Ideal city", as well as the treaties with foreign.Expanded widely. Chinese are flowing into the mining became undeveloped in Phuket till now!
in the reign of 5 (1999)2435) have the political reform is a system of forest. The appointment of grant Yang ratsada Nu artificial มหิศรภักดี (SIM B Na Ranong) is a county in expert system and in this period the Phuket. Begin to develop continuously.(SIM B Na Ranong) is the foundation for the infrastructure, such as roadsEconomic development, etc., and laid the foundation of economic development in Phuket is exchange act of mining ore, initiated the rubber. In the south of Thailand including Phuket

since 2001.2510 on mining industry began to stagnate. The group of investors start concept. In the tourism business. Instead, mining, and on the 23 June 2529 has caused the burning factory smelting tantalum.In Phuket. Tourism has become a new choice of Phuket People
.
the historic
-
. Clothes miners group medicineFrom that city, Phuket has Chinese affordable housing, causing the secret societies or "medicine", formed by the split into two big group is father, ash Poon Influence in Kathu home, which is the source of mining with Chinese very much.The Kean steak. Are influential in the market town in which medicine in both groups. An adversary that often cause chaos from time to time. By causing a catastrophic events. "Big three times together.
.
riot incident happened in the first time.2410 lnto the two groups have raised a fight for water washing ore into riots, governor central to suspend the cause and suppression This situation makes the government to raise Chinese secret society."The chief the clan." control of their people, and if, to complain of their grievances, head of the clan is proposed that petition letter to the government next
.
later in the year.2419 have riots up again. By this time, a big riot caused by medicine pun ash grandpa happy you mine, no cost of labor because of the tin price down. The grudge and the governor's circle.2.000. Rebels besieged the town hall and, robbery - kill the Thai violence occurred over the.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: