บทที่ 1บทนำ1.หลักการและเหตุผล “สังคมก้มหน้า” เป็นศัพท์บัญญัติใหม่ในโลก การแปล - บทที่ 1บทนำ1.หลักการและเหตุผล “สังคมก้มหน้า” เป็นศัพท์บัญญัติใหม่ในโลก อังกฤษ วิธีการพูด

บทที่ 1บทนำ1.หลักการและเหตุผล “สังค

บทที่ 1
บทนำ

1.หลักการและเหตุผล
“สังคมก้มหน้า” เป็นศัพท์บัญญัติใหม่ในโลกออนไลน์ ที่แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมของผู้คนในสังคมที่มีจิตใจฝักใฝ่และหมกมุ่นอยู่กับการเสพเทคโนโลยีโดยผ่านโปรแกรมและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น อุปกรณ์เหล่านี้สามารถใช้ประโยชน์เป็นคอมพิวเตอร์ทำงานและสืบค้นข้อมูล เป็นโทรศัพท์ เป็นกล้องถ่ายรูป เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่ส่งได้ทั้งภาพและเสียงแบบปัจจุบันทันที (real time) ผู้ใช้มีทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่นและคนหนุ่มสาว ผู้ใช้จะมีความชำนาญและเชี่ยวชาญในการใช้โปรแกรมและอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวไปโดยอัตโนมัติ เมื่อมาใช้อุปกรณ์ในห้องสมุดซึ่งเป็นแบบเดียวกัน แต่นำมาใช้โดยมีวัตถุประสงค์ต่างกัน ก็จะสามารถเข้าใจและใช้เป็นได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้เมื่อใช้บ่อย ๆ นาน ๆ มาก ๆ ก็จะส่งผลกระทบทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ทำให้ผู้ใช้มีพฤติกรรมที่แข็งกระด้าง ไม่ใส่ใจผู้คนหรือสิ่งรอบข้าง ใจร้อน คาดหวังผลที่ต้องการรวดเร็ว อารมณ์หงุดหงิดง่ายเมื่อไม่ได้ดังใจ ขาดสติ ขาดความรู้ตัว จิตใจจดจ่อแต่เฉพาะอุปกรณ์และข้อมูลที่ใช้อยู่ตรงหน้า อาจกล่าวได้ว่าปัจจุบันเป็นยุคของสังคมก้มหน้า ซึ่งยากที่ใครหรือวงการใดจะหลีกเลี่ยงได้ รวมทั้งห้องสมุด ทำอย่างไรจึงจะหาข้อดีของยุคนี้

ปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ มีความเจริญก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีบนโลกใบนี้ ได้ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในระดับต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสังคมระดับครอบครัว แวดวงเพื่อนฝูง หรือแม้กระทั่งสังคมในที่ทำงาน ซึ่งจะเห็นได้จากการเสพติดโทรศัพท์ประเภทสมาร์ทโฟน ไอแพด ที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แค่เพียงปลายนิ้ว จนกระทั่งเทคโนโลยีเหล่านี้กลายเป็นปัจจัยที่ 6 นอกเหนือจากปัจจัย 4 ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ทั่วไป ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค รวมทั้งรถยนต์หรือยานพาหนะต่างๆ ซึ่งกลายมาเป็นปัจจัยที่ 5 ที่จำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินชีวิต

ที่กล่าวมานั้นจะเห็นได้ว่า สมาร์ทโฟนทั้งหลายได้กลายเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่หรือคนทั่วโลกไปแล้ว จะเห็นได้จากกลุ่มคนทุกวัยตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ไปจนถึงผู้สูงวัยทั้งหลาย ก็ล้วนแล้วจะต้องเป็นเจ้าของสมาร์ทโฟนอย่างน้อย 1 เครื่อง ผลกระทบที่ตามมาจากการที่ทุกคนให้ความสำคัญกับสมาร์ทโฟนเหล่านี้ก็คือ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมระดับต่างๆ ลดลงไปจนถึงขั้นย่ำแย่
เนื่องจากสมาร์ทโฟน ได้ดึงความสนใจจากสิ่งต่างๆ รอบตัวไปจนหมด ทุกคนต่างก้มหน้าก้มตาเสียเวลาไปกับสิ่งนี้ จนทำให้ขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนรอบข้าง ไม่มีใครสนใจใคร จนกลายเป็น “สังคมก้มหน้า” ที่เราได้ยินกันจนคุ้นหูและเห็นภาพเหล่านี้จนชินตา นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย ได้แก่ การเกิดปัญหานิ้วล็อค อาการปวดหลังหรือต้นคอ เนื่องจากการก้มเป็นเวลานาน ปัญหาทางสายตาที่เกิดจากการเพ่งมองมากเกินไป หรือทางด้านจิตใจ คือ ก่อให้เกิดความหมกมุ่นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากเกินไป จนก่อให้เกิดปัญหาในการสื่อสาร เป็นต้น


ปัจจุบันไม่ว่าจะเดินทางไปไหนมาไหนกับครอบครัว เพื่อน พี่น้อง หรือว่ามองไปที่คนรอบข้างมักจะเห็นแต่ละคนต่างนั่งก้มหน้าอยู่กับหน้าจออุปกรณ์สื่อสารของตัวเองกันแทบทั้งสิ้น จึงทำให้เกิดศัพท์บัญญัติใหม่ในโลกออนไลน์ชื่อ สังคมก้มหน้า ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่มีผลกระทบอยู่ไม่น้อย หากเรายังปล่อยปละละเลยให้สังคมเป็นเช่นนี้ต่อไป






จากพฤติกรรมทางสังคมของผู้คนในยุค Social Network ที่ผู้คนต่างก้มหน้าอยู่กันอุปกรณ์ พกพาส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือถือ ไอแพด ไอโฟน แท็บเล็ต ต่างๆ ซึ่งเราจะพบเห็นอยู่ได้ทั่วไปว่าผู้คนเหล่านี้ต่าง ง่วนอยู่กับการ แชท ผ่านไลน์ กับเพื่อนหรือกลุ่มเพื่อน การโพสต์ภาพอาหารที่กำลังจะทาน หรือทานเสร็จแล้วผ่านหน้าจอเฟสบุ๊ค หรือการกด Like กับเพื่อนที่โพสต์กิจกรรมในกลุ่มเกือบจะทุกวินาที ทำให้สามีภรรยา ที่สามีง่วนอยู่กับไอโฟน ส่วนภรรยาก็สไลด์หน้าจอไอแพดอย่างเมามัน โดยไม่ได้สนใจพูดคุยกันในร้านอาหาร เป็นภาพที่ชินตา สำหรับสังคมบ้านเรา



ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าว พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดี กรมสุขภาพจิต ได้ให้ความรู้ว่า พฤติกรรมสังคมก้มหน้า มีทั้งผลดีและผลเสีย กล่าวคือ

"เรื่องการใช้เวลากับสิ่งเหล่านี้ แม้สิ่งที่เราทำจะเป็นประโยชน์ ถ้าก้มหน้าได้อย่างเดียวแต่เงยหน้าขึ้นมาไม่ได้เลย ในแง่การใช้เวลากับมันมากเกินไปจนเริ่มรบกวนสิ่งที่เรียกว่า การทำหน้าที่ปกติ เช่น ถึงเวลาต้องรับประทานอาหาร แต่รู้สึกว่าไม่กินก็ได้ หรือถึงเวลาต้องนอนก็ไม่นอน ซึ่งความจริงแล้วมันไม่ได้ อีกอย่างต้องยอมรับว่าการสื่อสารผ่านอุปกรณ์เหล่านี้ไม่ทดแทนการพูดคุยแบบเผชิญหน้ากัน ไม่ใช่แปลว่าเรามีเพื่อนมากมายอยู่ใน Facebook หรือใน Line แต่ในความเป็นจริงหากเราไปไหนแล้วไม่มีคนคุยด้วยหรือคุยกับคนอื่นไม่รู้เรื่อง ไม่มีเพื่อนในสังคมจริง ไม่ได้แปลว่าคุณมีเพื่อน เพราะว่าทักษะทางสังคมที่เรียกว่า “Face to face” การมองหน้าหรือสบตากัน การมีจังหวะในการพูดคุย บางคนเสียไปเลย เช่น เวลาจะพูดกับคนอื่นรู้สึกประหม่า หรือว่าไม่เข้าหาคนอื่น หรือวางตัวไม่ถูก หรือว่าภาษาเป็นปัญหา เพราะภาษาที่ใช้ในโซเชียลเน็ตเวิร์กไม่ค่อยปกติ ยิ่งถึงเวลาเป็นเรื่องของทางการมักเริ่มมีปัญหาว่าจะพูดภาษาที่เป็นทางการอย่างไร"


แล้วปัญหาที่ตามมาในเรื่องสุขภาพอันที่จริงคือเรื่อง "เท็กซ์เนค" ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่พูดถึงกันมา 2-3 ปีแล้ว ที่ผมหยิบกลับมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้งเป็นเพราะว่าตอนนี้มันกำลังกลายเป็น "โกลบอล ซินโดรม" คือออกอาการกันแพร่หลายไปทั่วโลก ตามการแพร่ระบาดของอุปกรณ์พกพาสารพัดตั้งแต่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เรื่อยไปจนถึงอีบุ๊กรีดเดอร์ทั้งหลาย

ก่อนหน้านี้อุปกรณ์เหล่านี้ถูกจำกัดการใช้งานด้วยการเชื่อมต่อแต่ตอนนี้เมื่อสามารถเชื่อมต่อได้ทุกที่ทุกเวลาเนื้อหาที่มากับหน้าจอก็หลากหลายมากขึ้น ดึงดูดใจมากขึ้น ทั้งไลน์ ทั้งเกม ทั้งอีบุ๊กสารพัด สัดส่วนก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 1Introduction1. the principles and reasons. “สังคมก้มหน้า” เป็นศัพท์บัญญัติใหม่ในโลกออนไลน์ ที่แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมของผู้คนในสังคมที่มีจิตใจฝักใฝ่และหมกมุ่นอยู่กับการเสพเทคโนโลยีโดยผ่านโปรแกรมและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น อุปกรณ์เหล่านี้สามารถใช้ประโยชน์เป็นคอมพิวเตอร์ทำงานและสืบค้นข้อมูล เป็นโทรศัพท์ เป็นกล้องถ่ายรูป เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่ส่งได้ทั้งภาพและเสียงแบบปัจจุบันทันที (real time) ผู้ใช้มีทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่นและคนหนุ่มสาว ผู้ใช้จะมีความชำนาญและเชี่ยวชาญในการใช้โปรแกรมและอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวไปโดยอัตโนมัติ เมื่อมาใช้อุปกรณ์ในห้องสมุดซึ่งเป็นแบบเดียวกัน แต่นำมาใช้โดยมีวัตถุประสงค์ต่างกัน ก็จะสามารถเข้าใจและใช้เป็นได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้เมื่อใช้บ่อย ๆ นาน ๆ มาก ๆ ก็จะส่งผลกระทบทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ทำให้ผู้ใช้มีพฤติกรรมที่แข็งกระด้าง ไม่ใส่ใจผู้คนหรือสิ่งรอบข้าง ใจร้อน คาดหวังผลที่ต้องการรวดเร็ว อารมณ์หงุดหงิดง่ายเมื่อไม่ได้ดังใจ ขาดสติ ขาดความรู้ตัว จิตใจจดจ่อแต่เฉพาะอุปกรณ์และข้อมูลที่ใช้อยู่ตรงหน้า อาจกล่าวได้ว่าปัจจุบันเป็นยุคของสังคมก้มหน้า ซึ่งยากที่ใครหรือวงการใดจะหลีกเลี่ยงได้ รวมทั้งห้องสมุด ทำอย่างไรจึงจะหาข้อดีของยุคนี้ ปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ มีความเจริญก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีบนโลกใบนี้ ได้ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในระดับต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสังคมระดับครอบครัว แวดวงเพื่อนฝูง หรือแม้กระทั่งสังคมในที่ทำงาน ซึ่งจะเห็นได้จากการเสพติดโทรศัพท์ประเภทสมาร์ทโฟน ไอแพด ที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แค่เพียงปลายนิ้ว จนกระทั่งเทคโนโลยีเหล่านี้กลายเป็นปัจจัยที่ 6 นอกเหนือจากปัจจัย 4 ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ทั่วไป ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค รวมทั้งรถยนต์หรือยานพาหนะต่างๆ ซึ่งกลายมาเป็นปัจจัยที่ 5 ที่จำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินชีวิต ที่กล่าวมานั้นจะเห็นได้ว่า สมาร์ทโฟนทั้งหลายได้กลายเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่หรือคนทั่วโลกไปแล้ว จะเห็นได้จากกลุ่มคนทุกวัยตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ไปจนถึงผู้สูงวัยทั้งหลาย ก็ล้วนแล้วจะต้องเป็นเจ้าของสมาร์ทโฟนอย่างน้อย 1 เครื่อง ผลกระทบที่ตามมาจากการที่ทุกคนให้ความสำคัญกับสมาร์ทโฟนเหล่านี้ก็คือ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมระดับต่างๆ ลดลงไปจนถึงขั้นย่ำแย่ Because Smartphones have attention from things around until all. Everybody bow eye or waste time with this thing until the lack of interaction between the surrounding people. No one who is interested in "social or" until we hear and see these images familiar to look familiar until. It's also causing health problems. Whether it is a physical problem in the finger lock include: Back or neck pain due to the bow for a long time. Vision problems caused by too much look or psychological cause is preoccupied with something too. Until it is causing problems in communication, etc. ปัจจุบันไม่ว่าจะเดินทางไปไหนมาไหนกับครอบครัว เพื่อน พี่น้อง หรือว่ามองไปที่คนรอบข้างมักจะเห็นแต่ละคนต่างนั่งก้มหน้าอยู่กับหน้าจออุปกรณ์สื่อสารของตัวเองกันแทบทั้งสิ้น จึงทำให้เกิดศัพท์บัญญัติใหม่ในโลกออนไลน์ชื่อ สังคมก้มหน้า ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่มีผลกระทบอยู่ไม่น้อย หากเรายังปล่อยปละละเลยให้สังคมเป็นเช่นนี้ต่อไป จากพฤติกรรมทางสังคมของผู้คนในยุค Social Network ที่ผู้คนต่างก้มหน้าอยู่กันอุปกรณ์ พกพาส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือถือ ไอแพด ไอโฟน แท็บเล็ต ต่างๆ ซึ่งเราจะพบเห็นอยู่ได้ทั่วไปว่าผู้คนเหล่านี้ต่าง ง่วนอยู่กับการ แชท ผ่านไลน์ กับเพื่อนหรือกลุ่มเพื่อน การโพสต์ภาพอาหารที่กำลังจะทาน หรือทานเสร็จแล้วผ่านหน้าจอเฟสบุ๊ค หรือการกด Like กับเพื่อนที่โพสต์กิจกรรมในกลุ่มเกือบจะทุกวินาที ทำให้สามีภรรยา ที่สามีง่วนอยู่กับไอโฟน ส่วนภรรยาก็สไลด์หน้าจอไอแพดอย่างเมามัน โดยไม่ได้สนใจพูดคุยกันในร้านอาหาร เป็นภาพที่ชินตา สำหรับสังคมบ้านเรา


ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าว พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดี กรมสุขภาพจิต ได้ให้ความรู้ว่า พฤติกรรมสังคมก้มหน้า มีทั้งผลดีและผลเสีย กล่าวคือ

"เรื่องการใช้เวลากับสิ่งเหล่านี้ แม้สิ่งที่เราทำจะเป็นประโยชน์ ถ้าก้มหน้าได้อย่างเดียวแต่เงยหน้าขึ้นมาไม่ได้เลย ในแง่การใช้เวลากับมันมากเกินไปจนเริ่มรบกวนสิ่งที่เรียกว่า การทำหน้าที่ปกติ เช่น ถึงเวลาต้องรับประทานอาหาร แต่รู้สึกว่าไม่กินก็ได้ หรือถึงเวลาต้องนอนก็ไม่นอน ซึ่งความจริงแล้วมันไม่ได้ อีกอย่างต้องยอมรับว่าการสื่อสารผ่านอุปกรณ์เหล่านี้ไม่ทดแทนการพูดคุยแบบเผชิญหน้ากัน ไม่ใช่แปลว่าเรามีเพื่อนมากมายอยู่ใน Facebook หรือใน Line แต่ในความเป็นจริงหากเราไปไหนแล้วไม่มีคนคุยด้วยหรือคุยกับคนอื่นไม่รู้เรื่อง ไม่มีเพื่อนในสังคมจริง ไม่ได้แปลว่าคุณมีเพื่อน เพราะว่าทักษะทางสังคมที่เรียกว่า “Face to face” การมองหน้าหรือสบตากัน การมีจังหวะในการพูดคุย บางคนเสียไปเลย เช่น เวลาจะพูดกับคนอื่นรู้สึกประหม่า หรือว่าไม่เข้าหาคนอื่น หรือวางตัวไม่ถูก หรือว่าภาษาเป็นปัญหา เพราะภาษาที่ใช้ในโซเชียลเน็ตเวิร์กไม่ค่อยปกติ ยิ่งถึงเวลาเป็นเรื่องของทางการมักเริ่มมีปัญหาว่าจะพูดภาษาที่เป็นทางการอย่างไร"


แล้วปัญหาที่ตามมาในเรื่องสุขภาพอันที่จริงคือเรื่อง "เท็กซ์เนค" ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่พูดถึงกันมา 2-3 ปีแล้ว ที่ผมหยิบกลับมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้งเป็นเพราะว่าตอนนี้มันกำลังกลายเป็น "โกลบอล ซินโดรม" คือออกอาการกันแพร่หลายไปทั่วโลก ตามการแพร่ระบาดของอุปกรณ์พกพาสารพัดตั้งแต่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เรื่อยไปจนถึงอีบุ๊กรีดเดอร์ทั้งหลาย

ก่อนหน้านี้อุปกรณ์เหล่านี้ถูกจำกัดการใช้งานด้วยการเชื่อมต่อแต่ตอนนี้เมื่อสามารถเชื่อมต่อได้ทุกที่ทุกเวลาเนื้อหาที่มากับหน้าจอก็หลากหลายมากขึ้น ดึงดูดใจมากขึ้น ทั้งไลน์ ทั้งเกม ทั้งอีบุ๊กสารพัด สัดส่วนก
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: