การตกแต่ง (DECORATION ) หมายถึงการจัด ประดับเพื่อความงามของอาคาร สถานท การแปล - การตกแต่ง (DECORATION ) หมายถึงการจัด ประดับเพื่อความงามของอาคาร สถานท อังกฤษ วิธีการพูด

การตกแต่ง (DECORATION ) หมายถึงการจ

การตกแต่ง (DECORATION ) หมายถึงการจัด ประดับเพื่อความงามของอาคาร สถานที่ทั้งภายในและนอกอาคาร รวมทั้งบริเวณที่อยู่โดยรอบของอาคารด้วย โดยการใช้สิ่งประดิษฐ์คิดค้นขึ้นหรือจากธรรมชาตินำมาดัดแปรงเพื่อการตกแต่ง เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านประโยชน์ใช้สอย และให้คุณค่าความสวยงาม

ในปัจจุบันการตกแต่งก็อาจหมายถึง ภาพจิตรกรรมที่เขียนขึ้น หรือรูปประติมากรรมสำหรับประดับภายในอาคาร สถาปัตยที่เรียกว่าศิลปตกแต่ง (DECORATIVE ARTS ) ศิลปะเพื่อศิลปะบริสุทธิ์ ( PURE ARTS ) ปัจจุบันนี้การตกแต่งยังหมายถึง การกำหนดโครงสีตกแต่งภายในอาคาร ในห้อง การออกแบบกำหนดสีพรม การออกแบบเครื่องเรือน ( FURNITURE ) รูปภาพ รูปปั้น และสิ่งประดับเพื่อความสวยงามเหล่านี้เป็นต้น

ศิลปตกแต่งหรือมัณฑนศิลป์
( DECORATIVE ARTS OR MINOR ARTS )
หมายถึงบรรดาผลิตกรรมศิลปะชนิดที่เรียกว่าจุลศิลป์ เช่น ช่างถม ช่างเงินช่างทอง ช่างแก้ว ช่างเครื่องปั้นดินเผา และงานช่างอื่น ๆ ถ้าศิลปตกแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อประโยชน์ทางการค้า ก็อาจเรียกได้ว่าเป็น "พาณิชยศิลป์" ยังมีคำว่า ประยุกต์ศิลป์ ( APPLIED ARTS ) ซึ่งหมายความถึงศิลปตกแต่งด้วยเพราะเป็นศิลปะที่นำเอาไปใช้สำหรับวัตถุซึ่งเป็นของใช้ตามธรรมดา เหตุนี้พาณิชยศิลป์และประยุกต์ศิลป์จึงตรงกับศิลปตกแต่ง

ประวัติความเป็นมาของการตกแต่ง
การตกแต่งหรือศิลปตกแต่งนี้เป็นศิลปะที่มนุษย์เริ่มรู้จักตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ( PREHISTORIC PERIOD) ในยุกหินเก่ามนุษย์เริ่มรู้จักการตกแต่งถํ้าที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยในสมัยนั้น ดังจะพบได้จากการเขียนภาพสีตกแต่งบนผนังถํ้า เช่น ถํ้าอัลตามิรา ( (ALTARMIRA) ซึ่งอยู่ทางภาคใต้ของสเปน ในยุคต่อมาเป็นยุคหินใหม่

ต่อมาในสมัยประวัติศาสตร์ ศิลปะสร้างขึ้นเพื่อเหตุผลทางศาสนา เพื่อพระมหากษัตริย์หรือประวัติศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ ประกอบด้วยงานจิตรกรรม
( PAINTING ) ประติมากรรม ( SCULPTURE ) การประกอบกระเบื้องสี ( MOSAIC ) ภาพประดับกระจกสี ( STAINEDGLASS ) โดยทำเป็นเรื่องของเทพเจ้าต่าง ๆ เกี่ยวกับทางศาสนาหรือพิธีการต่าง ๆ

ในปัจจุบัน ศิลปะการตกแต่งได้เปลี่ยนไปจากเดิมบ้างเพราะทางสถาปัตยกรรมได้เปลี่ยนแปลงรูปทรงไปจากสมัยโบราณมาก สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ถือความเรียบง่ายมีโครงสร้างเป็นเหลี่ยมเป็นแท่งตรงไปตรงมา จึงมีวิธีการตกแต่งต่างกันไปตามลักษณะการใช้สอย ความจำเป็นและสภาพทางเศษฐกิจ

ลักษณะของอาคารที่ใช้ตกแต่ง
แยกลักษณะของอาาคารโดยคำนึงถึงหน้าที่ของอาคารแต่ละประเภทออกเป็น 4 ลักษณะด้วยกันคือ
1. อาคารของทางราชการ ( OFFICIAL BUILDING )
2. อาคารสาธารณะ ( PUBLIC BUILDING )
3. อาคารพาณิชย์ ( COMMERCIAL BUILDING )
4. อาคารส่วนบุคคล ( PRIVATE BUILDING )
ลักษณะที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนของอาคารแต่ละประเภทที่มีหน้าที่เฉพาะเจาะจงไม่เหมือนกันจึงเป็นตัวนำความคิดหลักในการออกแบบตกแต่ง อย่างสอดคล้องเหมาะสมตามหน้าที่ใช้สอยและความงาม จึงทำให้เกิดมีลักษณะอาคารที่มีรูปแบบและหน้าที่ใช้สอยที่แปลกตาออกไป โดยเน้นเรื่องประโยชน์ใช้สอยของพื้นที่มากยิ่งขึ้นรูปแบบของอาคารจึงเป็นลักษณะการออกแบบผสมผสานระหว่างอาคารพาณิชย์และอาคารส่วน
บุคคลที่มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป

ลักษณะงานสำหรับการตกแต่ง
การตกแต่งจะคำนึงถึงวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ ประการแรกเป็นการออกแบบตกแต่งเพื่อตอบสนองทางร่างกาย ประการที่สองเป็นการออกแบบตกแต่งเพื่อตอบสนองทางด้านจิตใจซึ่งสองประเภทนี้จำแนกออกได้ตามลักษณะหน้าที่ใช้สอยและหน้าที่การตกแต่ง
เป็น 4 ประเภทคือ
1. รูปภาพหรือภาพเขียนตกแต่ง ( PICTURE OR DECORATIVE PAINTING )
2. ภาพปั้น-แกะสลัก เพื่อตกแต่ง ( DECORATIVE SCULPTURE )
3. เครื่องเรือนหรือคุรุภัณฑ์ ( FURNITURE )
4. ประเภทสิ่งบันเทิงและสิ่งประดับ ( ENTERTAMENT AND DECORATION )

หลักเบื้องต้นในการออกแบบตกแต่ง
1. เส้น ( LINE ) เป็นส่วนประกอบพื้นฐานสำคัญในการออกแบบ เพราะเส้นจะเป็นองค์ประกอบที่ทำให้เกิดรูปทรง รูปร่างที่จะนำไปใช้ในการตกแต่ง
ลักษณะของเส้นจะให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไปดังนี้
เส้นตรง ให้ความรู้สึกแข็ง ตรงไปตรงมา
เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว
เส้นซิกแซก ให้ความรู้สึกยอกย้อน รุนแรง
เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกในทางสูง เด่น สง่างาม
เส้นระดับ ให้ความรู้สึกทางกว้างยาว
เส้นโค้งเป็นแนวคลื่น ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว
เส้นตรงตัดกันเป็นกากบาท ให้ความรู้สึกขัดแย้ง
เส้นก้นหอย ให้ความรู้สึกหมุนเวียน
เส้นแย้ง ให้ความรู้สึก กระด้างหรือการแตกแยก
2. รูปทรง ( FORM ) เกิดจากการนำเส้นมาต่อกันเป็นรูปทรงแปลก ๆ มากมาย และทำให้รู้สึกต่างกันออกไป นอกจากนี้เราได้รูปทรงจากธรรมชาติที่มีความงามในตัวเองเสมอ รูปทรงที่ได้จากการนำเส้นมาต่อกันเป็นรูปทรงใหม่เรียกว่ารูปทรงเลขาคณิต
( GEOMETRICAL FOME ) ที่นำมาใช้ออกแบบเครื่องเรือนเครื่องประดับตกแต่งและสถาปัตยกรรมต่าง ๆ รูปทรงเลขาคณิต ได้แก่
รูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า ให้ความรู้สึกแข็งแรง ไม่เอนเอียง
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้ความรู้สึกกว้างขวาง สง่างาม
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตรง ให้ความรู้สึกสูงเด่น และไม่ปลอดภัย
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ให้ความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย
รูปสามเหลี่ยม ให้ความรู้สึกเด่น สง่า รุนแรง
รูปทรงกลม ให้ความรู้สึกกลมกลืนนุ่มนวล
รูปทรงอิสระ ( FREE FOME ) ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวไม่แน่นอน
3. คุณค่าของแสงและเงา ( CHIAROSCURO ) เมื่อได้ลักษณะของรูปทรง ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงผลที่จะได้รับจากแสงสว่าง ไม่ว่าจะเป็นแสง
สว่างจากธรรมชาติหรือจากหลอดไฟฟ้าซึ่งจะทำให้เกิดแสงตกทอด อันเป็นผลต่อแสงสว่างภาพในอาคาร และการกำหนดโครงสีภายใน ภายนอกอาคารเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กัน
สีเขียวแก่กับสีเทา ( DARK GREEN-COMBINED WITH GRAYS ) ทำให้เกิดความรู้สึกเศร้า ความชรา ความสงบเงียบ
สีเทากลาง ( MIDDLE GRAYS ) ทำให้เกิดความรู้สึกสงบเงียบ สุภาพ
สีขาวและสีดำอยู่ด้วยกัน ( BLACK AND WHITE TOGETHER ) ทำให้เกิดความหดหู่ใจ เศร้าสลด เงียบเหงา
สีขาว ( WHITE ) ทำให้เกิดความบริสุทธิ์ สดชื่น
4. เนื้อที่และช่องไฟ ( AREA AND SPACE ) ผู้ออกแบบจะต้องออกแบบเครื่องเรือนให้สัมพันธ์กับขนาด ( SIZE ) ของห้อง จัดวางตำแหน่งที่แน่นอนลงไปโดยให้เครื่องเรือนมีความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอยเต็มที่และจัดที่ว่างสำหรับการสัญจรไปมาอย่างสะดวก การออกแบบที่ไม่นึกถึงความสัมพันธ์ของเครื่องเรือนหรือตำแหน่งการจัดวางแล้วอาจทำให้เสียเวลาในการเดินไปเดินมาเพื่อหยิบสิ่งของ เคริ่องใช้เหล่านี้เป็นต้น
5. ผิวสัมผัส ( TEXTURE ) ในการออกแบบแต่ละครั้งผิวสั
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Decoration (DECORATION), refers to the arrangement of ornamental beauty of the building. Place both inside and outside the building including the surrounding area of the building. By using the artifacts created or adapted from natural brush for finishing. In order to meet the needs of the functional and aesthetic value.In the present, it may mean that the painting or sculpture that is written for the ornamental indoor installation costs, called the arts and decoration (DECORATIVE ARTS) art for art pure (PURE ARTS) also refers to the current configuration of the rooms in the building, the interior color. Carpet colors design design furniture (FURNITURE) pictures. Ornamental statues and all these beauty etc.Art & decor or interior design( DECORATIVE ARTS OR MINOR ARTS )Refers to the makings of buzzwords, art type called chunsin, such as reclamation technicians. Goldsmith, silversmith glass technicians Technician, pottery and other decorative arts, artisan these to benefit trade, it might be called a "phanityasin" is a word that applied arts (APPLIED ARTS), art & decorative art is to use for the object, which is used in accordance with the ordinary. This is why the phanityasin of Arts, applied arts, and thus match the décor.The history of decoration.Decorative arts the decorative arts or this is that humans learn from prehistory (PREHISTORIC PERIOD) in older humans start to kahin Yu decorated caves used as a residence in the castle can be found from the decorative color painting on cave walls such as Altamira (cave (ALTARMIRA), which is located to the South of Spain. In a later era, the new stone age.Later, in modern history. Art created for religious reasons, to the King, or the history of a large part of the work consists of painting. (PAINTING), sculpture (SCULPTURE), Assembly, color tiles (MOSAIC), glass (STAINEDGLASS) is the subject of various deities or religious ceremonies.In the present day. The decorative arts have altered because it has changed its architectural shapes from very ancient times. Modern architecture considered simplicity is a triangular structure is straightforward. So there are different ways to decorate according to functional characteristics. Necessity and economic sentimentCharacteristics of building decoration.Separation characteristics of buildings in consideration of the obligations of each category into four characteristics.1. official buildings (BUILDING OFFICIAL)2. public buildings (PUBLIC BUILDING).3. the commercial buildings (COMMERCIAL BUILDING).4. building a personal (PRIVATE BUILDING).The different characteristics of each building, clearly, is not the same as the specific duties, is the main idea in a decorative design. Accordingly, the appropriate duties and thus causes the beauty looks and has the format and function of living which is unique. With an emphasis on practical matters of greater area, the format of the building was a mix of design, commercial buildings, and the building section.Individuals with a different name.Job description for a decoration.The main objective is, regardless of the two reasons. first, there is a design to a physical response. The second is to respond to the psychological profile, in which the two types of classification according to functional characteristics of living and decor.4 different categories:1. pictures or decorative paintings (PICTURE OR DECORATIVE PAINTING).2. the photo-engraving to decorate, molding (DECORATIVE SCULPTURE).3. furniture guru (FURNITURE)4. types of entertainment and all accessories (ENTERTAMENT AND DECORATION).Basics in design1. line (LINE) is a fundamental component in the design because it is an element that causes shapes. Shapes are used to decorate.The appearance of the line — feel differently as follows:Straight-line feels solid, straightforward.Curve feels sensitiveZig-zag path feels harsh retort manufacturersPlumb line in the direction of the predominant feel high elegance.Line level, feel the way the aspectThe curve is a horizontal wave motion feels.A straight cut is the tick repellant feels conflict.Spiral lines make sense-revolving.Path to feeling. Hardness or schism2. shape (FORM) from the trail, as many unusual and makes sense. We also have a natural shape that there is beauty in themselves always. The shape of the path is a shape, the new shape is called Secretary math.(GEOMETRICAL FOME) introduced the design furniture and decorated with architectural ornaments, various. The mathematical shape Secretary include:Rectangular side feels strong. Do not tiltRectangular spacious elegant feelRectangular straight, high and feeling unsafe.Trapezoid, safe feeling.รูปสามเหลี่ยม ให้ความรู้สึกเด่น สง่า รุนแรงรูปทรงกลม ให้ความรู้สึกกลมกลืนนุ่มนวลรูปทรงอิสระ ( FREE FOME ) ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวไม่แน่นอน3. คุณค่าของแสงและเงา ( CHIAROSCURO ) เมื่อได้ลักษณะของรูปทรง ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงผลที่จะได้รับจากแสงสว่าง ไม่ว่าจะเป็นแสงสว่างจากธรรมชาติหรือจากหลอดไฟฟ้าซึ่งจะทำให้เกิดแสงตกทอด อันเป็นผลต่อแสงสว่างภาพในอาคาร และการกำหนดโครงสีภายใน ภายนอกอาคารเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กันสีเขียวแก่กับสีเทา ( DARK GREEN-COMBINED WITH GRAYS ) ทำให้เกิดความรู้สึกเศร้า ความชรา ความสงบเงียบสีเทากลาง ( MIDDLE GRAYS ) ทำให้เกิดความรู้สึกสงบเงียบ สุภาพสีขาวและสีดำอยู่ด้วยกัน ( BLACK AND WHITE TOGETHER ) ทำให้เกิดความหดหู่ใจ เศร้าสลด เงียบเหงาสีขาว ( WHITE ) ทำให้เกิดความบริสุทธิ์ สดชื่น4. เนื้อที่และช่องไฟ ( AREA AND SPACE ) ผู้ออกแบบจะต้องออกแบบเครื่องเรือนให้สัมพันธ์กับขนาด ( SIZE ) ของห้อง จัดวางตำแหน่งที่แน่นอนลงไปโดยให้เครื่องเรือนมีความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอยเต็มที่และจัดที่ว่างสำหรับการสัญจรไปมาอย่างสะดวก การออกแบบที่ไม่นึกถึงความสัมพันธ์ของเครื่องเรือนหรือตำแหน่งการจัดวางแล้วอาจทำให้เสียเวลาในการเดินไปเดินมาเพื่อหยิบสิ่งของ เคริ่องใช้เหล่านี้เป็นต้น 5. ผิวสัมผัส ( TEXTURE ) ในการออกแบบแต่ละครั้งผิวสั
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: