ลากิจ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑  มาตรา ๓๔ กำหนดไว้ว่า “ให้ลูกจ้า การแปล - ลากิจ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑  มาตรา ๓๔ กำหนดไว้ว่า “ให้ลูกจ้า อังกฤษ วิธีการพูด

ลากิจ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕

ลากิจ
ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา ๓๔ กำหนดไว้ว่า
“ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน”
การลากิจ หมายถึงการลาไปเพื่อทำกิจธุระอันจำเป็นที่ลูกจ้างไม่สามารถทำในวันหยุดได้ เช่น ไปทำบัตรประชาชน ติดต่อหน่วยงานราชการ หรือมีเหตุจำเป็นต้องเดินทางที่ไม่สามารถเลื่อนหรือหลีกเลี่ยงได้ เป็นต้น
การลากิจ กฎหมายไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขไว้ กฎหมายกำหนดให้เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
ดังนั้นการลากิจ จึงต้องพิจารณาไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่นายจ้างกำหนดตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือบางแห่งอาจมีระเบียบการลากำหนดไว้โดยเฉพาะ ก็ให้บังคับและปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวได้
ลากิจ กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ เรื่องการจ่ายค่าจ้าง ดังนั้นลากิจ ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันที่ลา (ใช้บังคับได้สำหรับพนักงานรายวัน) ส่วนพนักงานรายเดือน มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดอยู่แล้วทุกกรณี ดังนั้นนายจ้างจะไปหักค่าจ้างในวันที่ลากิจไม่ได้
บางแห่งอาจมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง กำหนดไว้เกี่ยวกับเรื่องการลา ก็สามารถบังคับใช้และปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้น ๆ ได้ เช่น บางแห่งอาจตกลงไว้ว่า ปีหนึ่งลากิจได้ไม่เกิน ๖ วันทำงานโดยได้รับค่าจ้าง นั่นหมายความว่า ลากิจได้รับค่าจ้าง ๖ วันทำงาน
ปัญหามีอยู่ว่า หากพนักงานลาเกิน ๖ วันล่ะ มีปัญหาว่าลาได้หรือไม่ หรือว่าลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง
กรณีอย่างนี้ ต้องดูดี ๆ ครับ เพราะการตีความอาจแตกต่างกันได้ ดังนั้นหากมีการกำหนดไว้ในลักษณะเช่นนี้ ควรดูที่ประเพณีปฏิบัติของแต่ละบริษัทครับ ว่าที่ผ่านมาปฏิบัติอย่างไร มีเจตนาในการกำหนดข้อบังคับดังกล่าวไว้อย่างไร เพราะบางแห่งอาจหมายถึง ลากิจได้ปีละไม่เกิน ๖ วันทำงาน และได้รับค่าจ้างในวันที่ลา ลาเกินไม่ได้
แต่บางแห่งอาจหมายถึง ลากิจโดยได้รับค่าจ้าง ๖ วันทำงาน ส่วนที่ลาเกิน ๖ วัน ลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง เป็นต้น
เคยมีคนตั้งถามไว้หลายครั้งว่า ไปพบหมอตามที่หมอนัด เป็นลาป่วยหรือลากิจ
กรณีนี้ต้องพิจาณาถึงเจตนาของกฎหมาย คือ ลาป่วย หมายถึง ลาอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยไข้จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่าตนเองจะเจ็บป่วยเมื่อใด ส่วนลากิจเป็นเรื่องที่พนักงานทราบล่วงหน้าถึงกิจธุระอันจำเป็นที่ต้องการลานั้น ๆ
หมดนัด หากพิจาณาตามหลักเจตนาของกฎหมาย ถือว่าพนักงานทราบล่วงหน้าอยู่แล้ว และการไปพบแพทย์ตามนัด อาจไม่เกิดจากอาการเจ็บป่วยเสมอไป อาการป่วยอาจหายดีหรือ ดีขึ้น สามารถมาทำงานได้ตามปกติแล้ว แต่จำเป็นต้องไปพบแพทย์ตามนัด เพื่อดูอาการหรือตรวจเพิ่มเติม กรณีอย่างนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการลาเนื่องจากอาการเจ็บป่วย ไม่ใช่การลาป่วย
แต่กรณีหากอาการเจ็บป่วยยังไม่หาย ต้องหยุดพักรักษาตัว และต้องไปพบแพทย์ตามกำหนด

อย่างนี้ยังถือว่ามีอาการเจ็บป่วยอยู่ การลาจึงเป็นการลาป่วยได้
สรุปง่าย ๆ คือ มีอาการป่วย จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ และต้องหยุดเนื่อจากอาการเจ็บป่วยนั้น ๆ เป็นลาป่วย
หากหมอนัด แต่ช่วงวันเวลาที่หมอนัดนั้น พนักงานมีอาการป่วยดีขึ้น และมาทำงานตามปกติได้แล้ว แต่ลาไปเพื่อพบหมอตามนัด ถือเป็นการลากิจ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ลากิจ
ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา ๓๔ กำหนดไว้ว่า
“ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน”
การลากิจ หมายถึงการลาไปเพื่อทำกิจธุระอันจำเป็นที่ลูกจ้างไม่สามารถทำในวันหยุดได้ เช่น ไปทำบัตรประชาชน ติดต่อหน่วยงานราชการ หรือมีเหตุจำเป็นต้องเดินทางที่ไม่สามารถเลื่อนหรือหลีกเลี่ยงได้ เป็นต้น
การลากิจ กฎหมายไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขไว้ กฎหมายกำหนดให้เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
ดังนั้นการลากิจ จึงต้องพิจารณาไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่นายจ้างกำหนดตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือบางแห่งอาจมีระเบียบการลากำหนดไว้โดยเฉพาะ ก็ให้บังคับและปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวได้
ลากิจ กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ เรื่องการจ่ายค่าจ้าง ดังนั้นลากิจ ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันที่ลา (ใช้บังคับได้สำหรับพนักงานรายวัน) ส่วนพนักงานรายเดือน มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดอยู่แล้วทุกกรณี ดังนั้นนายจ้างจะไปหักค่าจ้างในวันที่ลากิจไม่ได้
บางแห่งอาจมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง กำหนดไว้เกี่ยวกับเรื่องการลา ก็สามารถบังคับใช้และปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้น ๆ ได้ เช่น บางแห่งอาจตกลงไว้ว่า ปีหนึ่งลากิจได้ไม่เกิน ๖ วันทำงานโดยได้รับค่าจ้าง นั่นหมายความว่า ลากิจได้รับค่าจ้าง ๖ วันทำงาน
ปัญหามีอยู่ว่า หากพนักงานลาเกิน ๖ วันล่ะ มีปัญหาว่าลาได้หรือไม่ หรือว่าลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง
กรณีอย่างนี้ ต้องดูดี ๆ ครับ เพราะการตีความอาจแตกต่างกันได้ ดังนั้นหากมีการกำหนดไว้ในลักษณะเช่นนี้ ควรดูที่ประเพณีปฏิบัติของแต่ละบริษัทครับ ว่าที่ผ่านมาปฏิบัติอย่างไร มีเจตนาในการกำหนดข้อบังคับดังกล่าวไว้อย่างไร เพราะบางแห่งอาจหมายถึง ลากิจได้ปีละไม่เกิน ๖ วันทำงาน และได้รับค่าจ้างในวันที่ลา ลาเกินไม่ได้
แต่บางแห่งอาจหมายถึง ลากิจโดยได้รับค่าจ้าง ๖ วันทำงาน ส่วนที่ลาเกิน ๖ วัน ลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง เป็นต้น
เคยมีคนตั้งถามไว้หลายครั้งว่า ไปพบหมอตามที่หมอนัด เป็นลาป่วยหรือลากิจ
กรณีนี้ต้องพิจาณาถึงเจตนาของกฎหมาย คือ ลาป่วย หมายถึง ลาอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยไข้จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่าตนเองจะเจ็บป่วยเมื่อใด ส่วนลากิจเป็นเรื่องที่พนักงานทราบล่วงหน้าถึงกิจธุระอันจำเป็นที่ต้องการลานั้น ๆ
หมดนัด หากพิจาณาตามหลักเจตนาของกฎหมาย ถือว่าพนักงานทราบล่วงหน้าอยู่แล้ว และการไปพบแพทย์ตามนัด อาจไม่เกิดจากอาการเจ็บป่วยเสมอไป อาการป่วยอาจหายดีหรือ ดีขึ้น สามารถมาทำงานได้ตามปกติแล้ว แต่จำเป็นต้องไปพบแพทย์ตามนัด เพื่อดูอาการหรือตรวจเพิ่มเติม กรณีอย่างนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการลาเนื่องจากอาการเจ็บป่วย ไม่ใช่การลาป่วย
แต่กรณีหากอาการเจ็บป่วยยังไม่หาย ต้องหยุดพักรักษาตัว และต้องไปพบแพทย์ตามกำหนด

อย่างนี้ยังถือว่ามีอาการเจ็บป่วยอยู่ การลาจึงเป็นการลาป่วยได้
สรุปง่าย ๆ คือ มีอาการป่วย จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ และต้องหยุดเนื่อจากอาการเจ็บป่วยนั้น ๆ เป็นลาป่วย
หากหมอนัด แต่ช่วงวันเวลาที่หมอนัดนั้น พนักงานมีอาการป่วยดีขึ้น และมาทำงานตามปกติได้แล้ว แต่ลาไปเพื่อพบหมอตามนัด ถือเป็นการลากิจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ลากิจ
ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา ๓๔ กำหนดไว้ว่า
“ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน”
การลากิจ หมายถึงการลาไปเพื่อทำกิจธุระอันจำเป็นที่ลูกจ้างไม่สามารถทำในวันหยุดได้ เช่น ไปทำบัตรประชาชน ติดต่อหน่วยงานราชการ หรือมีเหตุจำเป็นต้องเดินทางที่ไม่สามารถเลื่อนหรือหลีกเลี่ยงได้ เป็นต้น
การลากิจ กฎหมายไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขไว้ กฎหมายกำหนดให้เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
ดังนั้นการลากิจ จึงต้องพิจารณาไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่นายจ้างกำหนดตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือบางแห่งอาจมีระเบียบการลากำหนดไว้โดยเฉพาะ ก็ให้บังคับและปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวได้
ลากิจ กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ เรื่องการจ่ายค่าจ้าง ดังนั้นลากิจ ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันที่ลา (ใช้บังคับได้สำหรับพนักงานรายวัน) ส่วนพนักงานรายเดือน มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดอยู่แล้วทุกกรณี ดังนั้นนายจ้างจะไปหักค่าจ้างในวันที่ลากิจไม่ได้
บางแห่งอาจมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง กำหนดไว้เกี่ยวกับเรื่องการลา ก็สามารถบังคับใช้และปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้น ๆ ได้ เช่น บางแห่งอาจตกลงไว้ว่า ปีหนึ่งลากิจได้ไม่เกิน ๖ วันทำงานโดยได้รับค่าจ้าง นั่นหมายความว่า ลากิจได้รับค่าจ้าง ๖ วันทำงาน
ปัญหามีอยู่ว่า หากพนักงานลาเกิน ๖ วันล่ะ มีปัญหาว่าลาได้หรือไม่ หรือว่าลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง
กรณีอย่างนี้ ต้องดูดี ๆ ครับ เพราะการตีความอาจแตกต่างกันได้ ดังนั้นหากมีการกำหนดไว้ในลักษณะเช่นนี้ ควรดูที่ประเพณีปฏิบัติของแต่ละบริษัทครับ ว่าที่ผ่านมาปฏิบัติอย่างไร มีเจตนาในการกำหนดข้อบังคับดังกล่าวไว้อย่างไร เพราะบางแห่งอาจหมายถึง ลากิจได้ปีละไม่เกิน ๖ วันทำงาน และได้รับค่าจ้างในวันที่ลา ลาเกินไม่ได้
แต่บางแห่งอาจหมายถึง ลากิจโดยได้รับค่าจ้าง ๖ วันทำงาน ส่วนที่ลาเกิน ๖ วัน ลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง เป็นต้น
เคยมีคนตั้งถามไว้หลายครั้งว่า ไปพบหมอตามที่หมอนัด เป็นลาป่วยหรือลากิจ
กรณีนี้ต้องพิจาณาถึงเจตนาของกฎหมาย คือ ลาป่วย หมายถึง ลาอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยไข้จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่าตนเองจะเจ็บป่วยเมื่อใด ส่วนลากิจเป็นเรื่องที่พนักงานทราบล่วงหน้าถึงกิจธุระอันจำเป็นที่ต้องการลานั้น ๆ
หมดนัด หากพิจาณาตามหลักเจตนาของกฎหมาย ถือว่าพนักงานทราบล่วงหน้าอยู่แล้ว และการไปพบแพทย์ตามนัด อาจไม่เกิดจากอาการเจ็บป่วยเสมอไป อาการป่วยอาจหายดีหรือ ดีขึ้น สามารถมาทำงานได้ตามปกติแล้ว แต่จำเป็นต้องไปพบแพทย์ตามนัด เพื่อดูอาการหรือตรวจเพิ่มเติม กรณีอย่างนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการลาเนื่องจากอาการเจ็บป่วย ไม่ใช่การลาป่วย
แต่กรณีหากอาการเจ็บป่วยยังไม่หาย ต้องหยุดพักรักษาตัว และต้องไปพบแพทย์ตามกำหนด

อย่างนี้ยังถือว่ามีอาการเจ็บป่วยอยู่ การลาจึงเป็นการลาป่วยได้
สรุปง่าย ๆ คือ มีอาการป่วย จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ และต้องหยุดเนื่อจากอาการเจ็บป่วยนั้น ๆ เป็นลาป่วย
หากหมอนัด แต่ช่วงวันเวลาที่หมอนัดนั้น พนักงานมีอาการป่วยดีขึ้น และมาทำงานตามปกติได้แล้ว แต่ลาไปเพื่อพบหมอตามนัด ถือเป็นการลากิจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ลากิจ
ตามพรบ . คุ้มครองแรงงานพ . ศ . ๒๕๔๑
มาตรา๓๔กำหนดไว้ว่า

" ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน "การลากิจหมายถึงการลาไปเพื่อทำกิจธุระอันจำเป็นที่ลูกจ้างไม่สามารถทำในวันหยุดได้เช่นไปทำบัตรประชาชนติดต่อหน่วยงานราชการหรือมีเหตุจำเป็นต้องเดินทางที่ไม่สามารถเลื่อนหรือหลีกเลี่ยงได้เป็นต้น
การลากิจกฎหมายไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขไว้กฎหมายกำหนดให้เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
ดังนั้นการลากิจจึงต้องพิจารณาไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่นายจ้างกำหนดตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือบางแห่งอาจมีระเบียบการลากำหนดไว้โดยเฉพาะก็ให้บังคับและปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวได้
ลากิจกฎหมายไม่ได้กำหนดไว้เรื่องการจ่ายค่าจ้างดังนั้นลากิจลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันที่ลา ( ใช้บังคับได้สำหรับพนักงานรายวัน ) ส่วนพนักงานรายเดือนมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดอยู่แล้วทุกกรณี
บางแห่งอาจมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างกำหนดไว้เกี่ยวกับเรื่องการลาก็สามารถบังคับใช้และปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้นจะได้เช่นบางแห่งอาจตกลงไว้ว่าปีหนึ่งลากิจได้ไม่เกินเจอร์นั่นหมายความว่าลากิจได้รับค่าจ้างจากวันทำงาน
ปัญหามีอยู่ว่าหากพนักงานลาเกินจากวันล่ะมีปัญหาว่าลาได้หรือไม่หรือว่าลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง
กรณีอย่างนี้ต้องดูดีจะครับเพราะการตีความอาจแตกต่างกันได้ดังนั้นหากมีการกำหนดไว้ในลักษณะเช่นนี้ควรดูที่ประเพณีปฏิบัติของแต่ละบริษัทครับว่าที่ผ่านมาปฏิบัติอย่างไรเพราะบางแห่งอาจหมายถึงลากิจได้ปีละไม่เกินจากวันทำงานและได้รับค่าจ้างในวันที่ลาลาเกินไม่ได้
แต่บางแห่งอาจหมายถึงลากิจโดยได้รับค่าจ้างจากวันทำงานจากส่วนที่ลาเกินได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้างเป็นต้นไปพบหมอตามที่หมอนัดเป็นลาป่วยหรือลากิจ

เคยมีคนตั้งถามไว้หลายครั้งว่ากรณีนี้ต้องพิจาณาถึงเจตนาของกฎหมายความลาป่วยหมายถึงลาอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยไข้จนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่าตนเองจะเจ็บป่วยเมื่อใดไม่มี
หมดนัดหากพิจาณาตามหลักเจตนาของกฎหมายถือว่าพนักงานทราบล่วงหน้าอยู่แล้วและการไปพบแพทย์ตามนัดอาจไม่เกิดจากอาการเจ็บป่วยเสมอไปอาการป่วยอาจหายดีหรือดีขึ้นสามารถมาทำงานได้ตามปกติแล้วเพื่อดูอาการหรือตรวจเพิ่มเติมกรณีอย่างนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการลาเนื่องจากอาการเจ็บป่วยไม่ใช่การลาป่วย
แต่กรณีหากอาการเจ็บป่วยยังไม่หายต้องหยุดพักรักษาตัวและต้องไปพบแพทย์ตามกำหนด


อย่างนี้ยังถือว่ามีอาการเจ็บป่วยอยู่การลาจึงเป็นการลาป่วยได้สรุปง่ายไม่มีความมีอาการป่วยจนไม่สามารถมาทำงานตามปกติได้และต้องหยุดเนื่อจากอาการเจ็บป่วยนั้นจะเป็นลาป่วย
หากหมอนัดแต่ช่วงวันเวลาที่หมอนัดนั้นพนักงานมีอาการป่วยดีขึ้นและมาทำงานตามปกติได้แล้วแต่ลาไปเพื่อพบหมอตามนัดถือเป็นการลากิจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: