สมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยของผู้ป่วยและกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา ( การแปล - สมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยของผู้ป่วยและกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา ( อังกฤษ วิธีการพูด

สมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยของผู้ป่ว

สมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยของผู้ป่วยและกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา (Case Study) โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย จากยาสมุนไพรชนิดละ 2 ราย เป็นจำนวนทั้งสิ้น 8 ราย จากการศึกษาพบว่าพบว่าผู้ป่วยอาการปวดเมื่อยของคลินิกแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลจะนะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 65.7 อยู่ในช่วงกลุ่มอายุ 51-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.7 สถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 72.9 มีระดับการศึกษาประถมศึกษาเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 40.7 ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา คิดเป็นร้อยละ 33.6 มีการใช้ยาสมุนไพรจำนวน 1 ชนิดเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 58.6 มีระยะเวลาการใช้ยาสมุนไพรอยู่ในช่วงกลุ่มน้อยกว่า 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 31.4 มีระยะความต่อเนื่องในการใช้ยาสมุนไพร โดยใช้เป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ 64.3 มีการใช้ยาสมุนไพรเพียงอย่างเดียวเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 61.1 ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีผลข้างเคียงจากการยาสมุนไพร คิดเป็นร้อยละ 94.3 โดยมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับยาสมุนไพรจากบุคลากรสาธารณสุขเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 48.6 และเมื่อใช้ยาสมุนไพรพบว่าส่วนใหญ่มีอาการดีขึ้นกว่าเดิม คิดเป็นร้อยละ 85.7 ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในข้อความที่ว่าท่านอ่านฉลากทุกครั้งก่อนใช้ยาสมุนไพร มีค่าเฉลี่ย 4.69 และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในข้อความที่ว่า เมื่อมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ท่านเลือกใช้ยาเถาวัลย์เปรียงในการรักษา มีค่าเฉลี่ย 3.35 และจำนวนและร้อยละของผู้ป่วยอาการปวดเมื่อย จำแนกตามระดับพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 91.4
และจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา (Case Study) โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย ชนิดละ 2 ราย เป็นจำนวนทั้งหมด 8 ราย พบว่ามีกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศหญิงจำนวน 6 ราย เป็นเพศชายจำนวน 2 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีข้อมูลทั่วไปที่คล้ายคลึงกันในด้านของอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพ ภายหลังจากการใช้ยาสมุนไพรกลุ่มตัวอย่างบางส่วนมีอาการที่ดีขึ้น และบางส่วนอาการยังคงเดิม และส่วนของพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรใกล้เคียงกันในด้านของการอ่านฉลากยา และปฏิบัติตามคำสั่งของแพทย์ และโดยรวมกลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดมีความคิดเห็นและความเชื่อมั่นต่อการรักษาด้วยยาสมุนไพรหรือในแนวทางการแพทย์แผนไทยที่ใกล้เคียงกัน

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Herbal treatment, a patient's pain and is a case study (Case Study) by in-depth interviews about the habits, the use of herbal medicine treatment pain from herbal medicines each type 2 is a total of 8 detail the study found that patients with pain of clinical medicine in the hospital, Thailand, Chana Songkhla district, mainly female, 65.7 percent are in the age group 51-60 years of age, marital status, 25.7 per cent, representing 72.9 per cent have completed primary school is mainly a career 40.7 percent made a medication.Ngaphara, representing 33.6 percent of the herbal medicines are used, the number of type 1 is mainly a 58.6 percent have used herbal medicines is in the range of groups less than 31.4 per cent of the 6-month period, the continuity in the use of herbal medicines using occasionally 64.3 percent have used drugs.MUI naphrai alone, 61.1 per cent majority, most of which have no side effects from herbal medicines by 94.3% received information about herbal medicine from the public health personnel is mainly a 48.6 percent and using medicinal herbs found that most.Symptoms are better than the majority of 85.7 per cent with an average maximum of in the text that people read the label before using herbal medicines. Average 4.69 and the average low in the message that when a muscle aches. People choose to use a drug in the treatment of prieng. An average 3.35, and the number and percentage of patients classified by the level of pain behaviors, about the use of herbal medicines, most of which have medicinal use behaviour treatment of pain is in a very good level. 91.4 per cent และจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา (Case Study) โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย ชนิดละ 2 ราย เป็นจำนวนทั้งหมด 8 ราย พบว่ามีกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศหญิงจำนวน 6 ราย เป็นเพศชายจำนวน 2 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีข้อมูลทั่วไปที่คล้ายคลึงกันในด้านของอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพ ภายหลังจากการใช้ยาสมุนไพรกลุ่มตัวอย่างบางส่วนมีอาการที่ดีขึ้น และบางส่วนอาการยังคงเดิม และส่วนของพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรใกล้เคียงกันในด้านของการอ่านฉลากยา และปฏิบัติตามคำสั่งของแพทย์ และโดยรวมกลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดมีความคิดเห็นและความเชื่อมั่นต่อการรักษาด้วยยาสมุนไพรหรือในแนวทางการแพทย์แผนไทยที่ใกล้เคียงกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
สมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยของผู้ป่วยและกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา (Case Study) โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย จากยาสมุนไพรชนิดละ 2 ราย เป็นจำนวนทั้งสิ้น 8 ราย จากการศึกษาพบว่าพบว่าผู้ป่วยอาการปวดเมื่อยของคลินิกแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลจะนะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 65.7 อยู่ในช่วงกลุ่มอายุ 51-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.7 สถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 72.9 มีระดับการศึกษาประถมศึกษาเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 40.7 ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา คิดเป็นร้อยละ 33.6 มีการใช้ยาสมุนไพรจำนวน 1 ชนิดเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 58.6 มีระยะเวลาการใช้ยาสมุนไพรอยู่ในช่วงกลุ่มน้อยกว่า 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 31.4 มีระยะความต่อเนื่องในการใช้ยาสมุนไพร โดยใช้เป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ 64.3 มีการใช้ยาสมุนไพรเพียงอย่างเดียวเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 61.1 ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีผลข้างเคียงจากการยาสมุนไพร คิดเป็นร้อยละ 94.3 โดยมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับยาสมุนไพรจากบุคลากรสาธารณสุขเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 48.6 และเมื่อใช้ยาสมุนไพรพบว่าส่วนใหญ่มีอาการดีขึ้นกว่าเดิม คิดเป็นร้อยละ 85.7 ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในข้อความที่ว่าท่านอ่านฉลากทุกครั้งก่อนใช้ยาสมุนไพร มีค่าเฉลี่ย 4.69 และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในข้อความที่ว่า เมื่อมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ท่านเลือกใช้ยาเถาวัลย์เปรียงในการรักษา มีค่าเฉลี่ย 3.35 และจำนวนและร้อยละของผู้ป่วยอาการปวดเมื่อย จำแนกตามระดับพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อยอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 91.4
และจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษา (Case Study) โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย ชนิดละ 2 ราย เป็นจำนวนทั้งหมด 8 ราย พบว่ามีกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศหญิงจำนวน 6 ราย เป็นเพศชายจำนวน 2 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีข้อมูลทั่วไปที่คล้ายคลึงกันในด้านของอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพ ภายหลังจากการใช้ยาสมุนไพรกลุ่มตัวอย่างบางส่วนมีอาการที่ดีขึ้น และบางส่วนอาการยังคงเดิม และส่วนของพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรใกล้เคียงกันในด้านของการอ่านฉลากยา และปฏิบัติตามคำสั่งของแพทย์ และโดยรวมกลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดมีความคิดเห็นและความเชื่อมั่นต่อการรักษาด้วยยาสมุนไพรหรือในแนวทางการแพทย์แผนไทยที่ใกล้เคียงกัน

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Herbal treatment, fatigue of patients and samples as a case study (Case Study) by in-depth interview about herbal medicine usage behavior treatment of fatigue. Each type of herbal medicine 2 cases. The 8 cases. The study found that patients of clinical medicine in the hospital are fatigue, Amphoe Chana, Songkhla Province, mainly females. The percentage of 65.7 in the age group 51-60 years were 25.7 status were 72.9 level of elementary education. The percentage of 40.7 career on rubber, were 33.6 have used herbal medicine were 1 type is mainly the percentage of 58.6 period was the use of herbal medicine in the group of less than 6 months. The percentage of the 31.4 continuity in herbal medicine by occasionally per cent 64.3 have used herbal medicine alone. The percentage of 61.1, most of which have no side effects from herbal medicine, were 94.3 by perceived information about herbal health personnel. The percentage of 48.6 and when the use of herbal medicine were better than the original, were 85.7 mainly the highest average in the text that you read the label before every use of herbal medicines. The average 4.69 and the average in the text that. When a muscle strain You choose the vine in the treatment of drug use, the average 3.35 and the number and percentage of patients with fatigue. By the behavior about the use of herbal medicines. The behavior on the use of herbal medicine in treating fatigue level, were 91.4.And from the case (Case Study) by in-depth interview about herbal medicine usage behavior treatment of fatigue. Each type 2 cases were all 8 cases showed that there were a number of cases. 6 female male were 2 cases. Most of which are general information which are similar in terms of age, marital status, educational level and profession. After using the herbal medicine the sample.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: