ประเพณีอุ้มพระดำน้ำประวัติ / ความเป็นมา ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นประเพณ การแปล - ประเพณีอุ้มพระดำน้ำประวัติ / ความเป็นมา ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นประเพณ อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีอุ้มพระดำน้ำประวัติ / ความเป

ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ
ประวัติ / ความเป็นมา
ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นประเพณีของชาวเพชรบูรณ์ที่มีความเชื่อถือศรัทธาต่อพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง คือ พระพุทธมหาธรรมราชา ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วัดไตรภูมิ มูลเหตุที่มีประเพณีอุ้มพระดำน้ำทุกปีนั้น ตำนานเล่าสืบกันมาว่าย้อนหลังไปประมาณ 400 ปี ชาวประมงกลุ่มหนึ่งออกหาปลาบริเวณลำน้ำป่าสัก ซึ่งสมัยนั้นมีปลาชุกชุมมาก วันหนึ่งเกิดเหตุการณ์ประหลาด ตังแต่เช้าจรดบ่ายยังไม่มีใครจับปลาได้สักตัว คล้ายกับว่าใต้พื้นน้ำแห่งนี้ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เลย สร้างความงุนงงแก่ชาวประมงเป็นอย่างมาก ทันใดนั้นกระแสน้ำนั้นก็หยุดไหล นิ่งอยู่กับที่ และค่อยมีพรายน้ำผุดขึ้นทีละฟองสองฟอง แล้วทวีมากขึ้น ไม่ต่างกับน้ำในกาถูกต้มกำลังเดือด ไม่นานก็เปลี่ยนเป็นวังวงใหญ่ และลึกมาก ทุกคนต่างมองดูด้วยความงุนงงไม่สามารถหาคำตอบได้ว่า มันเกิดอะไรขึ้น
จนกระทั่งวังน้ำวนแห่งนั้นได้เริ่มคืนสู่สภาพเดิม และดึงเอาพระพุทธรูปองค์หนึ่งขึ้นมาจากใต้น้ำแห่งนั้นลอยขึ้นมาอยู่เหนือผิวน้ำ มีการดำผุดดำว่ายตลอดเวลา ไม่ต่างกับอากัปกิริยาของเด็กที่เล่นน้ำ ชาวประมงที่เห็นเหตุการณ์ทราบได้ทันทีว่าพระพุทธรูปองค์นี้ ต้องเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์อย่างแน่นอน จึงสามารถแสดงปาฏิหาริย์ให้เห็นเช่นนี้ได้ สมควรที่จะอัญเชิญขึ้นมาประดิษฐานบนบกให้ผู้คนทั้งหลายได้กราบไหว้บูชา จึงพร้อมใจกันลงไปอัญเชิญขึ้นมา นำไปประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิ บริเวณที่ชาวประมงเหล่านั้นนั่งปรึกษากัน ปัจจุบัน คือพื้นที่วังมะขามแฟบ (ไม้ระกำ) ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของเมืองเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปองค์นี้มีลักษณะแบบพระพุทธรูปสมัยลพบุรี แกะสลักลวดลายด้วยความประณีตงดงาม พระพุทธรูปทรงราชาภรณ์ที่เรียกว่า พระทรงเครื่อง ลักษณะนั่งขัดสมาธิเพชร พระพักตร์กว้าง พระขนงเป็นเหลี่ยม พระโอษฐ์ยิ้ม ศิราภรณ์เป็นเทริด ต่อมาชาวเมืองเรียกพระพุทธรูปองค์นี้ว่าพระมหาธรรมราชา
อีกตำนานหนึ่งกล่าวว่า มีสองสามีภรรยาไปทอดแหในแม่น้ำป่าสัก พายเรือไปเรื่อยๆ จากบ้านของเขาไปถึงบ้านนาสารก็หาปลาไม่ได้แม้สักตัวเดียว พอไปถึงวังน้ำลึกก็ทอดแหลงไปแล้วดึงแหไม่ขึ้น จึงดำน้ำลงไป 3 ครั้ง เพื่อเอาแหขึ้นมาก็ขึ้นไม่ได้ จึงดำน้ำลงไปอีก 3 ครั้ง พบพระพุทธรูปองค์หนึ่งสีเหลืองอร่ามงดงามมาก จึงอัญเชิญไปไว้ที่วัดไตรภูมิ ตามตำนานกล่าวว่า พระพุทธรูปองค์นี้หายตัวได้ เมื่อนำพระพุทธรูปมาประดิษฐานที่วัดไตรภูมิได้ปีเดียว พระพุทธรูปหายไปจากตู้กระจก วันหนึ่งหลวงตาพราหมณ์ได้ไปวิดปลา โดยทำนบกั้นน้ำแล้วใช้โซงโลง (ชะนาง) วิดปลา วิดตลอดวันตลอดคืนน้ำเริ่มแห้งขอด ก็ได้ยินเสียง จ๋อมแจ๋ม แต่ก็ไม่เห็นอะไร แต่พอใกล้แจ้งก็พบพระทองเหลืองอร่ามก็เลยกระโดลงไปอุ้มพระไว้ หลวงตาพราหมณ์จำได้ว่าเป็นพระวัดไตรภูมิ จึงอัญเชิญพระไปไว้ทีวัดอีก นำพระมาประทับไว้ในตู้แล้วลั่นกุญแจไว้ 2 ดอก พระมหาธรรมราชาประทับอยู่ได้ หนึ่งปีก็หายไปจากวัดไตรภูมิอีกเป็นครั้งที่สอง ต่อมาสองสามีภรรยาคนเดิมที่เคยทอดแหได้พระพุทธรูปองค์นี้มาครั้งแรกก็ไปทอดแหอีก เมื่อพายเรือไปถึงบ้านนาสารก็ทอดแหลงไปบริเวณที่เป็นวังน้ำอีก แหก็ติดอีก แกดำน้ำลงไปดูถึง 2 ครั้ง ก็พบพระพุทธรูปองค์เดิม จึงได้อัญเชิญไปประดิษฐานที่วัดไตรภูมิ พระอาจารย์ที่วัดแปลกใจมากจึงไปหาหมอมาสะกด เพราะเชื่อว่าเป็นพระปรอท หมอจึงเอาตะปูมาตอกสะกดที่อุ้งพระบาท จึงไม่สามารถหลบไปได้อีก
จากตำนานที่เล่าสืบขานกันมาเช่นนี้ ทำให้ชาวเพชรบูรณ์และจังหวัดใกล้เคียงต่างมีศรัทธาความเชื่อว่า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์มาก หากปีใดมีความแห้งแล้งเกิดขึ้นก็จะทำพิธีบวงสรวง โดยยกเป็นศาลเพียงตาแล้วอัญเชิญพระมหาธรรมราชาองค์นี้อาบน้ำ ผู้ทำพิธีจะนุ่งขาวอุ้มพระพุทธรูปดำน้ำ หากผู้อุ้มพระหันหน้าไปทิศใดก็จะทำให้ฝนตกในทิศนั้นๆ สามวันสามคืน หากต้องการให้ฝนตกตามฤดูกาลก็อัญเชิญพระมหาธรรมราชาแห่รอบเมือง มีการสวดคาถาปลาช่อนด้วยก็จะบันดาลให้ฝนตกตามฤดูกาลได้


กำหนดงาน
ช่วงเทศกาลสารทไทยซึ่งตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival


กิจกรรม / พิธี
จากตำนานที่พระพุทธรูปได้หายไปจากวัดไตรภูมิถึง 2 ครั้งนั้น จึงได้มีพิธีนำพระพุทธรูปไปดำน้ำป่าสัก ปีแรกมีการอุ้มพระพุทธรูปมาดำน้ำที่เกาะวังศาล ครั้งที่ 2 ได้นำพระพุทธรูปมาดำน้ำที่วัดโบสถ์หรือโบสถ์ชนะมาร ตั้งแต่บัดนั้นมาจนทุกวันนี้
เริ่มจากการแห่พระวนรอบเมือง เวลา 13.00 น. มีหน่วยงานราชการและประชาชนร่วมใจกันส่งขบวนแห่เข้าร่วมอย่างมากมาย ประชาชนพากันชมขบวนแห่ด้วยความชื่นชม และด้วยความศรัทธาเนืองแน่นไปทุกถนนหนทางที่ขบวนแห่ผ่านไป
หลังจากทำพิธีแห่วนรอบเมืองแล้ว จะนำพระมหาธรรมราชาไปประดิษฐานในปะรำพิธีที่วัดไตรภูมิ เพื่อให้ประชาชนได้มากราบไหว้บูชา ปิดทอง ตอนค่ำมีการสวดมนต์เย็น ตกกลางคืนมีมหรสพและการละเล่นต่างๆ
พอวันรุ่งขึ้นมีพิธีทำบุญวันสารท ชาวบ้านจะนำภัตตาหารมาถวายพระที่วัด มีข้าวกระยาสารทพร้อมด้วยเครื่องไทยธรรมต่างๆ เมื่อถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณรแล้ว ก็จะมีพิธีอุ้มพระดำน้ำมีการรำถวายบวงสรวงด้วยการฟ้อนชุดต่างๆ
พิธีอุ้มพระดำน้ำเริ่มด้วยการอัญเชิญพระมหาธรรมราชาลงบุษบกในเรือราชพิธี ติดตามด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หลายท่าน พร้อมด้วยพระสงฆ์วัดไตรภูมิ บริวณที่จะอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาลงสรงน้ำเป็นท่าน้ำวัดโลสถ์ชนะมาร ซึ่งเป็นวังน้ำลึก ผู้ที่รับหน้าที่อุ้มพระมหาธรรมราชาลงดำน้ำ คือ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าเจ้าเมืองสมัยก่อน น้ำในลำน้ำป่าสักนี้ ภายหลังที่ได้ผ่านพิธีการอุ้มพระดำน้ำแล้ว ชาวเพชรบูรณ์ถือว่าเป็นน้ำพระพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์จึงกระโดลงไป นำลูกเด็กเล็กแดงไปอาบน้ำหรือตักขึ้นมาดื่มกิน และบ้างก็ไล่เก็บเศษทองที่หลุดจากองค์พระล่องลอยไปตามกระแสน้ำ เพื่อนำไปบูชาเป็นสิริมงคลคู่ครอบครัว เสร็จจากพิธีอุ้มพระดำน้ำแล้วก็จะเริ่มการแข่งเรือต่อไปอย่างสนุกสนาน

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
TraditionHistory/milestones ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นประเพณีของชาวเพชรบูรณ์ที่มีความเชื่อถือศรัทธาต่อพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง คือ พระพุทธมหาธรรมราชา ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วัดไตรภูมิ มูลเหตุที่มีประเพณีอุ้มพระดำน้ำทุกปีนั้น ตำนานเล่าสืบกันมาว่าย้อนหลังไปประมาณ 400 ปี ชาวประมงกลุ่มหนึ่งออกหาปลาบริเวณลำน้ำป่าสัก ซึ่งสมัยนั้นมีปลาชุกชุมมาก วันหนึ่งเกิดเหตุการณ์ประหลาด ตังแต่เช้าจรดบ่ายยังไม่มีใครจับปลาได้สักตัว คล้ายกับว่าใต้พื้นน้ำแห่งนี้ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เลย สร้างความงุนงงแก่ชาวประมงเป็นอย่างมาก ทันใดนั้นกระแสน้ำนั้นก็หยุดไหล นิ่งอยู่กับที่ และค่อยมีพรายน้ำผุดขึ้นทีละฟองสองฟอง แล้วทวีมากขึ้น ไม่ต่างกับน้ำในกาถูกต้มกำลังเดือด ไม่นานก็เปลี่ยนเป็นวังวงใหญ่ และลึกมาก ทุกคนต่างมองดูด้วยความงุนงงไม่สามารถหาคำตอบได้ว่า มันเกิดอะไรขึ้น จนกระทั่งวังน้ำวนแห่งนั้นได้เริ่มคืนสู่สภาพเดิม และดึงเอาพระพุทธรูปองค์หนึ่งขึ้นมาจากใต้น้ำแห่งนั้นลอยขึ้นมาอยู่เหนือผิวน้ำ มีการดำผุดดำว่ายตลอดเวลา ไม่ต่างกับอากัปกิริยาของเด็กที่เล่นน้ำ ชาวประมงที่เห็นเหตุการณ์ทราบได้ทันทีว่าพระพุทธรูปองค์นี้ ต้องเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์อย่างแน่นอน จึงสามารถแสดงปาฏิหาริย์ให้เห็นเช่นนี้ได้ สมควรที่จะอัญเชิญขึ้นมาประดิษฐานบนบกให้ผู้คนทั้งหลายได้กราบไหว้บูชา จึงพร้อมใจกันลงไปอัญเชิญขึ้นมา นำไปประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิ บริเวณที่ชาวประมงเหล่านั้นนั่งปรึกษากัน ปัจจุบัน คือพื้นที่วังมะขามแฟบ (ไม้ระกำ) ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของเมืองเพชรบูรณ์ This Buddha style Buddha reign Lopburi. Carved with intricate meanings The Buddha shapes, Raja PON called God a A diamond face sitting meditation style wide square mouth smiling monks as khanong Sira-PON is a tiara. Later, locals call this Buddha lithai อีกตำนานหนึ่งกล่าวว่า มีสองสามีภรรยาไปทอดแหในแม่น้ำป่าสัก พายเรือไปเรื่อยๆ จากบ้านของเขาไปถึงบ้านนาสารก็หาปลาไม่ได้แม้สักตัวเดียว พอไปถึงวังน้ำลึกก็ทอดแหลงไปแล้วดึงแหไม่ขึ้น จึงดำน้ำลงไป 3 ครั้ง เพื่อเอาแหขึ้นมาก็ขึ้นไม่ได้ จึงดำน้ำลงไปอีก 3 ครั้ง พบพระพุทธรูปองค์หนึ่งสีเหลืองอร่ามงดงามมาก จึงอัญเชิญไปไว้ที่วัดไตรภูมิ ตามตำนานกล่าวว่า พระพุทธรูปองค์นี้หายตัวได้ เมื่อนำพระพุทธรูปมาประดิษฐานที่วัดไตรภูมิได้ปีเดียว พระพุทธรูปหายไปจากตู้กระจก วันหนึ่งหลวงตาพราหมณ์ได้ไปวิดปลา โดยทำนบกั้นน้ำแล้วใช้โซงโลง (ชะนาง) วิดปลา วิดตลอดวันตลอดคืนน้ำเริ่มแห้งขอด ก็ได้ยินเสียง จ๋อมแจ๋ม แต่ก็ไม่เห็นอะไร แต่พอใกล้แจ้งก็พบพระทองเหลืองอร่ามก็เลยกระโดลงไปอุ้มพระไว้ หลวงตาพราหมณ์จำได้ว่าเป็นพระวัดไตรภูมิ จึงอัญเชิญพระไปไว้ทีวัดอีก นำพระมาประทับไว้ในตู้แล้วลั่นกุญแจไว้ 2 ดอก พระมหาธรรมราชาประทับอยู่ได้ หนึ่งปีก็หายไปจากวัดไตรภูมิอีกเป็นครั้งที่สอง ต่อมาสองสามีภรรยาคนเดิมที่เคยทอดแหได้พระพุทธรูปองค์นี้มาครั้งแรกก็ไปทอดแหอีก เมื่อพายเรือไปถึงบ้านนาสารก็ทอดแหลงไปบริเวณที่เป็นวังน้ำอีก แหก็ติดอีก แกดำน้ำลงไปดูถึง 2 ครั้ง ก็พบพระพุทธรูปองค์เดิม จึงได้อัญเชิญไปประดิษฐานที่วัดไตรภูมิ พระอาจารย์ที่วัดแปลกใจมากจึงไปหาหมอมาสะกด เพราะเชื่อว่าเป็นพระปรอท หมอจึงเอาตะปูมาตอกสะกดที่อุ้งพระบาท จึงไม่สามารถหลบไปได้อีก From the legendary storytelling Valerian said like this. Phetchabun Parisians and nearby provinces have faith, believe that the Buddha is very sacred. If any year drought occurs it will sacrifice ceremony by a shrine and then summon lithai bath. Who would wear a white ceremony of Buddhist images and noticed the dive? If the Lord in my arms facing any direction will cause it to rain three days and three nights in a particular direction. If you want to keep the seasonal rains, it summoned lithai parade around the city. There is a magic prayer SNAKEHEAD by rain fall seasonal. Define the job. The Mid-Autumn Festival, the 10th month Thailand which corresponds to day 15 November 10, can check www.tat.or.th/festival for details.กิจกรรม / พิธี จากตำนานที่พระพุทธรูปได้หายไปจากวัดไตรภูมิถึง 2 ครั้งนั้น จึงได้มีพิธีนำพระพุทธรูปไปดำน้ำป่าสัก ปีแรกมีการอุ้มพระพุทธรูปมาดำน้ำที่เกาะวังศาล ครั้งที่ 2 ได้นำพระพุทธรูปมาดำน้ำที่วัดโบสถ์หรือโบสถ์ชนะมาร ตั้งแต่บัดนั้นมาจนทุกวันนี้ เริ่มจากการแห่พระวนรอบเมือง เวลา 13.00 น. มีหน่วยงานราชการและประชาชนร่วมใจกันส่งขบวนแห่เข้าร่วมอย่างมากมาย ประชาชนพากันชมขบวนแห่ด้วยความชื่นชม และด้วยความศรัทธาเนืองแน่นไปทุกถนนหนทางที่ขบวนแห่ผ่านไป หลังจากทำพิธีแห่วนรอบเมืองแล้ว จะนำพระมหาธรรมราชาไปประดิษฐานในปะรำพิธีที่วัดไตรภูมิ เพื่อให้ประชาชนได้มากราบไหว้บูชา ปิดทอง ตอนค่ำมีการสวดมนต์เย็น ตกกลางคืนมีมหรสพและการละเล่นต่างๆ พอวันรุ่งขึ้นมีพิธีทำบุญวันสารท ชาวบ้านจะนำภัตตาหารมาถวายพระที่วัด มีข้าวกระยาสารทพร้อมด้วยเครื่องไทยธรรมต่างๆ เมื่อถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณรแล้ว ก็จะมีพิธีอุ้มพระดำน้ำมีการรำถวายบวงสรวงด้วยการฟ้อนชุดต่างๆ พิธีอุ้มพระดำน้ำเริ่มด้วยการอัญเชิญพระมหาธรรมราชาลงบุษบกในเรือราชพิธี ติดตามด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หลายท่าน พร้อมด้วยพระสงฆ์วัดไตรภูมิ บริวณที่จะอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาลงสรงน้ำเป็นท่าน้ำวัดโลสถ์ชนะมาร ซึ่งเป็นวังน้ำลึก ผู้ที่รับหน้าที่อุ้มพระมหาธรรมราชาลงดำน้ำ คือ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าเจ้าเมืองสมัยก่อน น้ำในลำน้ำป่าสักนี้ ภายหลังที่ได้ผ่านพิธีการอุ้มพระดำน้ำแล้ว ชาวเพชรบูรณ์ถือว่าเป็นน้ำพระพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์จึงกระโดลงไป นำลูกเด็กเล็กแดงไปอาบน้ำหรือตักขึ้นมาดื่มกิน และบ้างก็ไล่เก็บเศษทองที่หลุดจากองค์พระล่องลอยไปตามกระแสน้ำ เพื่อนำไปบูชาเป็นสิริมงคลคู่ครอบครัว เสร็จจากพิธีอุ้มพระดำน้ำแล้วก็จะเริ่มการแข่งเรือต่อไปอย่างสนุกสนาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The tradition to carry the dive.History / backgroundThe tradition to carry the dive. A tradition of the Phetchabun with faith to the sacred twin city is Buddha talk. Presently enshrined the three worlds. The reason that tradition carry the diving every year. Legend has it that there"s about 400 continuously for years. A group of fishermen fish the river forest. Which era is abundant with fish. One day, a strange occurrence. Since early in the morning to afternoon no catch one. This is similar to that under the organism lives. Create a daze to fishing very much. Suddenly the ceased flowing, static, and then a bubble pops up the eggs two eggs and multiply, with no difference in the boiled water is boiling. Soon turned to Wang big bands and very deep, everyone looked astonished can"t find out what"s going on.Until the palace of starting vortex retrieved. Pull the Buddha and one from that float above the surface of the water with large black weathered black swimming all the time. The action of children playing with water. The fisherman saw immediately that the Buddha. Must be the sacred Buddha image. It can show the miracle to see this. Deserve to summon up and laid onshore people they revere. Started to summon up. To put the three worlds. The fisherman them sit talking. At present is the area Wang tamarind flat (wood rakam) which is north of the city of the world.The Buddha is the Buddha of Lopburi. Carved with exquisite. He called the Buddha King Arts & the construction cost, diamond before the wide, the eyebrow is square, the mouth smile. ศิราภรณ์ a tiara? Later people called the Buddha that change.Another legend one says there are two couples to the Joker in the Ural River paddle around, from his home ไปถึ.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: