Sportswear Garment Technology - Waterless Dyeing เทคโนโลยีการย้อมโดยไม การแปล - Sportswear Garment Technology - Waterless Dyeing เทคโนโลยีการย้อมโดยไม อังกฤษ วิธีการพูด

Sportswear Garment Technology - Wat

Sportswear Garment Technology - Waterless Dyeing เทคโนโลยีการย้อมโดยไม่ใช้น้ำ นวัตกรรมอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอ

เรียบเรียงโดย สุมนทิพย์ วิชัยดิษฐ

 

กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความกดดันจากกลุ่มนักอนุรักษ์เพื่อที่จะผลักดันให้เกิดการลดการใช้ทรัพยากรน้ำในปริมาณมากในการย้อมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ทำให้ปัจจุบันมีการคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมแบบไม่ใช้น้ำ บริษัทสิ่งทอไทย เป็นรายแรกๆที่พัฒนาร่วมกับไนกี้และอดิดาส ในการปรับใช้กระบวนการใหม่นี้  

อดิดาส ภายใต้แนวทางการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม (Design for Environmental) และเพื่อโลกที่ดีกว่า (to make the world a Better Place) ได้รวมทีมกับกลุ่ม Yeh Group (Tong Siang) ในการพลิกโฉมเทคโนโลยีการผลิตของอุตสาหกรรมเสื้อผ้า พัฒนาเทคโนโลยีที่ชื่อว่า “DryDye” ในการย้อมสี/ใส่สีเข้าไปในเสื้อโดยไม่ต้องใช้ทรัพยากรน้ำ Yeh Group ผู้ผลิตผ้าถักและสปอร์ตแวร์ในกรุงเทพ เป็นรายแรกที่มีการปรับใช้กระบวนการผลิตย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำเมื่อสามปีก่อน เทคโนโลยีนี้แทนที่การใช้น้ำด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่สามารถรีไซเคิลได้ ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและลดการใช้สารเคมีในกระบวนการ
อดิดาสเป็นแบรนด์แรกที่เริ่มแนะนำ DryDye เมื่อปี 2012 เปิดตัวโดยนำเสนอผ่านเสื้อยืดคอลเล็คชั่นพิเศษจำนวน 50,000 ตัว สู่ตลาดโดยใช้ผ้าที่มาจาก Yeh Group ซึ่งลดการใช้น้ำไปถึง 1,250,000 ลิตร และหลังจากนั้นก็เริ่มแนะนำสินค้าตัวอื่นๆ ภายใต้เทคโนโลยีนี้ ในเดือนมิถุนายน ปี 2013 มีแบรนด์เสื้อผ้ากีฬาสัณชาติเยอรมัน เปิดเผยว่า “มีการใช้ผ้าที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำ DryDye จากกลุ่ม Yeh Group ในประเทศไทยไปกว่า 1 ล้านหลา”

ตัวแทนของอดิดาสได้ให้ข้อมูลแก่ทาง just-style ว่า “DryDye เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ลึกซึ้ง มันสามารถจะใช้ตัวกลางใหม่ๆ อย่างคาร์บอนไดออกไซด์อัดแน่น ในการเป็นตัวนำสี ซึ่งกระบวนการนี้มีประโยชน์อย่างมากในหลายมุม โดย DryDye สามารถจะนำพาสีไปสู่วัตถุได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าการย้อมแบบเดิมด้วยน้ำ ซึ่งโดยปกติแล้วจะใช้น้ำ 25 ลิตรในการย้อมเสื้อ 1 ตัว เทคโนโลยีนี้ยังใช้สารเคมีน้อยลงกว่า 50% และใช้พลังงานลดลง 50% อีกด้วย นอกจากนี้คาร์บอนไดออกไซด์ที่ใช้เป็นตัวกลางในการนำสียังสามารถนำกลับมารีไซเคิลใช้ซ้ำได้อีก”

 

ทางด้าน ไนกี้ ก็เร่งแข่งขันการพัฒนาสปอร์ตแวร์เทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเช่นกัน โดยทางไนกี้ แถลงว่า ชุดนักวิ่งมาราธอนชาวเคนย่า ชื่อ Abel Kirui ที่ได้รางวัลเหรียญเงินในการแข่งขันมาราธอนชายในโอลิมปิกปี 2012 เป็นนักวิ่งที่สวมใส่ชุด tracksuit ที่ดีที่สุดต่อสิ่งแวดล้อม Kirui วิ่งแข่ง 26.2 ไมล์ในชุดวิ่งที่ย้อมโดยปราศจากการใช้น้ำและผลิตจากผ้ารีไซเคิลที่ทำจากขวดพลาสติก 3 ขวด

ในการผลิตผ้านี้ ขวดพลาสติกจะถูกบดเป็นเกล็ดเล็กๆ นำไปหลอมละลาย แล้วนำไปฉีดเป็นเส้นด้าย ผ่านกระบวนการย้อมสีโดยการเติมสีเข้าไปโดยการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ที่รีไซเคิลมาแทนการใช้น้ำเป็นตัวช่วยในการให้ติดสี กระบวนการย้อมนี้พัฒนาโดยบริษัทชาวดัทช์ เรียกเทคโนโลยีนี้ว่า “DyeCoo” ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและสารเคมีลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์

Martin Lotti ผู้อำนวยการฝ่ายออกแบบชุดของโอลิมปิค กล่าวไว้ว่า “สุดยอดนักกีฬามักจะต้องการเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงช่วยส่งเสริมพวกเขาทุกครั้งที่สวมใส่เพื่อการฝึกฝนและการแข่งขัน ซึ่งผ้าที่มาจากรีไซเคิลและย้อมแบบไม่ใช้น้ำนี้ที่นักวิ่งเคนย่าใส่เป็นเสื้อกล้ามวิ่ง มีความเหมาะสมทั้งในเรื่องน้ำหนักที่เบาและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย”
ไนกี้ มีการคิดค้นในเทคโนโลยีนี้มากว่าแปดปี เมื่อต้นปี 2012 ที่ผ่านมา ไนกี้ได้จับมือกับกลุ่มบริษัทชาวดัทช์เปิดตัวเทคโนโลยีชื่อ DyeCoo Textile Systems ในการพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมสำหรับสปอร์ตแวร์ พัฒนาเครื่องจักรย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำออกมาในเชิงพานิชย์ ผ้าของไนกี้จะถูกผลิตจากโรงย้อมแห่งใหม่ที่เพิ่งเปิดตัวด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำในไต้หวันเมื่อปลายปี 2012 โดยไนกี้ได้เซ็นสัญญากับโรงงานของชาวไต้หวัน ชื่อ Far Eastern Century Corp (FENC) ซึ่งมีโรงงานอยู่ 3 โรง หนึ่งโรงในไต้หวันและอีกสองแห่งในประเทศไทย


เทคโนโลยีนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนา โดย DyeCoo Textile Systems ได้ถูกพัฒนาร่วมกับบริษัทคู่ค้าของไนกี้ชื่อ Huntsman Textile Effects มาตั้งแต่ตุลาคม 2012
Jay Bolus รองผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิคของ McDonough Braungart Design Chemistry (MBDC) กล่าวว่า “กระบวนการนี้สามารถทำงานได้โดยการลดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้อยู่ภายใต้ 1,100 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว ทำให้คาร์บอนได้ออกไซด์อยู่ในสภาวะเหนือวิกฤต ซึ่งทำให้มันมีคุณสมบัติที่เหมาะสมทั้งในสภาพที่เป็นของเหลวหรือก๊าซ” เทคโนโลยีนี้ถูกเผยแพร่อยู่ก่อนที่ไนกี้และอดิดาสจะเริ่มลงมาเล่นแล้ว เพียงแต่ยังมีปัญหาในการหาสีย้อมที่เหมาะสมกับกระบวนการ ปัญหาการใช้พลังงานอย่างมากในการทำและประสิทธิภาพของสีย้อม ซึ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับ

ประโยชน์ของกระบวนการใหม่นี้เริ่มเห็นชัดเจนขึ้น จากการใช้คาร์บอนไดออกไซด์มารีไซเคิล เมื่อ CO2 เย็นลงและกลับไปสู่สภาวะเป็นก๊าซ 95% ของ CO2 สามารถรีไซเคิลกลับมาได้ เทคโนโลยีนี้ยังมีการปล่อยสารคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสู่ภายนอกระบบน้อยลง 50-75%  นอกจากนี้ยังไม่ต้องเติมสารอื่นๆ ในกระบวนการและเสื้อยังแห้งเร็วกว่าเดิม ในกระบวนการนี้ไม่ต้องใช้น้ำเลยซึ่งแทบจะไม่เกิดการสูญเสีย(zero waste) การย้อมโดยไม่ใช้น้ำ นำไปสู่การปล่อยคาร์บอนฟุตปริ้น (carbon footprint) ที่น้อยลง ดังที่อดิดาสได้นำเสนอไว้ว่า “กระบวนการย้อมสีเสื้อผ้าของทั้งโลกนี้ทุกๆ 2 ปีจะมีปริมาณน้ำที่ใช้เท่ากับน้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน”


สำหรับโพลิเอสเตอร์ เทคโนโลยีนี้มีข้อจำกัดกับวัตถุดิบจากโพลิเอสเตอร์ ซึ่งผ้าโพลิเอสเตอร์จะต้องใช้น้ำ 100-150 ลิตรต่อกิโลกรัมเพื่อทำให้สีอิ่มตัว สำหรับไนกี้ โรงงานสิ่งทอที่ไนกี้มีสัญญาผลิตด้วย มีการใช้น้ำประมาณ 3 พันล้านแกลลอนต่อปีในกระบวนการผลิตสินค้าจากโพลิเอสเตอร์และฝ้าย การใช้น้ำปริมาณมากนี้เป็นที่มาที่ยักษ์ใหญ่แห่งวงการสปอร์ตแวร์ของโลกทั้งสองรายพยายามที่ปรับใช้เทคโนโลยีใหม่นี้ในการกระบวนการผลิตเพื่อที่จะรักษาน้ำ ลดการใช้พลังงาน และร่วมการรณรงค์ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงอากาศโลก
Ian Burnell ผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีของ Huntsman ได้พูดถึงเทคโนโลยีนี้ว่า “เป็นวิวัฒนาการของอุตสาหกรรม ยังไม่มีระบบไหนที่เหมือนเทคโนโลยีนี้ ซึ่งเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง และย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Sportswear Garment Dyeing dyeing Technology-Waterless technology innovations without water kamanakhot of the textile industry.Remix by sumon thip EPL victory disot Environmental flow and pressure from the Group of conservators to the push to reduce the use of water resources in large quantities in the textile and apparel. There are currently developing technologies invented a non-dyed water. Thailand is the first textile company that developed in conjunction with Nike and adidas clay. To deploy this new process. An adidas Under the guidance of environmental design (Design for Environmental) and to a better world (to make the world a Better Place) is teaming with a group Group Yeh (Tong Siang) transformation of industrial clothing production technology development of technology, named "DryDye" in the stained shirt color/enter into without the use of water resources, Yeh and knitted fabrics manufacturer Sports Group in Bangkok as the first deployed a dyeing manufacturing process does not use water when three years ago. This technology replaces the water with carbon dioxide, which can be recycled to reduce energy consumption and reduce the use of chemicals in the process. David clay is the first brand to introduce DryDye in 2012, launched by a t-shirt through the special collection number 50000 to market using fabric that comes from a Group in which Yeh to reduce water use up to 1,250,000 litres and afterwards began to recommend other items under this technology in June 2013, sports clothing brand, with a motel, a German national. Disclose that "has been used to dye fabrics produced with the technology does not use water from the DryDye Group in the country, Yeh Thailand group to over 1 million yards."Clay's agent David just-style way, that implements "DryDye it deep and innovative can be used the new medium carbon dioxide density in the guidance for this process, which is very useful in many corners by DryDye can bring color into objects more efficiently than traditional stained by water, which is usually 25 litres water to dye shirt 1 x technology also uses less chemicals, more than 50% and 50% reduced power consumption. In addition, carbon dioxide is used as an intermediary to bring color, can also be recycled reused. "   Nike side, it accelerated the development of the competitive sports ware technology to environmental preservation as well. By the way Nike marathon runner series press the name Abel Kirui Kenya nationals wins silver medal in the men's marathon race at the Olympics in 2012, as a runner wearing a tracksuit sets best environmental Kirui ran 26.2 miles in a race series that, without water and dye made from recycled fabric made from plastic bottles, 3 bottles.ในการผลิตผ้านี้ ขวดพลาสติกจะถูกบดเป็นเกล็ดเล็กๆ นำไปหลอมละลาย แล้วนำไปฉีดเป็นเส้นด้าย ผ่านกระบวนการย้อมสีโดยการเติมสีเข้าไปโดยการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ที่รีไซเคิลมาแทนการใช้น้ำเป็นตัวช่วยในการให้ติดสี กระบวนการย้อมนี้พัฒนาโดยบริษัทชาวดัทช์ เรียกเทคโนโลยีนี้ว่า “DyeCoo” ซึ่งทำให้ลดการใช้พลังงานและสารเคมีลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์Martin Lotti ผู้อำนวยการฝ่ายออกแบบชุดของโอลิมปิค กล่าวไว้ว่า “สุดยอดนักกีฬามักจะต้องการเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงช่วยส่งเสริมพวกเขาทุกครั้งที่สวมใส่เพื่อการฝึกฝนและการแข่งขัน ซึ่งผ้าที่มาจากรีไซเคิลและย้อมแบบไม่ใช้น้ำนี้ที่นักวิ่งเคนย่าใส่เป็นเสื้อกล้ามวิ่ง มีความเหมาะสมทั้งในเรื่องน้ำหนักที่เบาและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย”ไนกี้ มีการคิดค้นในเทคโนโลยีนี้มากว่าแปดปี เมื่อต้นปี 2012 ที่ผ่านมา ไนกี้ได้จับมือกับกลุ่มบริษัทชาวดัทช์เปิดตัวเทคโนโลยีชื่อ DyeCoo Textile Systems ในการพัฒนาเทคโนโลยีการย้อมสำหรับสปอร์ตแวร์ พัฒนาเครื่องจักรย้อมผ้าแบบไม่ใช้น้ำออกมาในเชิงพานิชย์ ผ้าของไนกี้จะถูกผลิตจากโรงย้อมแห่งใหม่ที่เพิ่งเปิดตัวด้วยเทคโนโลยีการย้อมไม่ใช้น้ำในไต้หวันเมื่อปลายปี 2012 โดยไนกี้ได้เซ็นสัญญากับโรงงานของชาวไต้หวัน ชื่อ Far Eastern Century Corp (FENC) ซึ่งมีโรงงานอยู่ 3 โรง หนึ่งโรงในไต้หวันและอีกสองแห่งในประเทศไทย เทคโนโลยีนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนา โดย DyeCoo Textile Systems ได้ถูกพัฒนาร่วมกับบริษัทคู่ค้าของไนกี้ชื่อ Huntsman Textile Effects มาตั้งแต่ตุลาคม 2012 Jay Bolus รองผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิคของ McDonough Braungart Design Chemistry (MBDC) กล่าวว่า “กระบวนการนี้สามารถทำงานได้โดยการลดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้อยู่ภายใต้ 1,100 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว ทำให้คาร์บอนได้ออกไซด์อยู่ในสภาวะเหนือวิกฤต ซึ่งทำให้มันมีคุณสมบัติที่เหมาะสมทั้งในสภาพที่เป็นของเหลวหรือก๊าซ” เทคโนโลยีนี้ถูกเผยแพร่อยู่ก่อนที่ไนกี้และอดิดาสจะเริ่มลงมาเล่นแล้ว เพียงแต่ยังมีปัญหาในการหาสีย้อมที่เหมาะสมกับกระบวนการ ปัญหาการใช้พลังงานอย่างมากในการทำและประสิทธิภาพของสีย้อม ซึ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับประโยชน์ของกระบวนการใหม่นี้เริ่มเห็นชัดเจนขึ้น จากการใช้คาร์บอนไดออกไซด์มารีไซเคิล เมื่อ CO2 เย็นลงและกลับไปสู่สภาวะเป็นก๊าซ 95% ของ CO2 สามารถรีไซเคิลกลับมาได้ เทคโนโลยีนี้ยังมีการปล่อยสารคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสู่ภายนอกระบบน้อยลง 50-75% นอกจากนี้ยังไม่ต้องเติมสารอื่นๆ ในกระบวนการและเสื้อยังแห้งเร็วกว่าเดิม ในกระบวนการนี้ไม่ต้องใช้น้ำเลยซึ่งแทบจะไม่เกิดการสูญเสีย(zero waste) การย้อมโดยไม่ใช้น้ำ นำไปสู่การปล่อยคาร์บอนฟุตปริ้น (carbon footprint) ที่น้อยลง ดังที่อดิดาสได้นำเสนอไว้ว่า “กระบวนการย้อมสีเสื้อผ้าของทั้งโลกนี้ทุกๆ 2 ปีจะมีปริมาณน้ำที่ใช้เท่ากับน้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน”สำหรับโพลิเอสเตอร์ เทคโนโลยีนี้มีข้อจำกัดกับวัตถุดิบจากโพลิเอสเตอร์ ซึ่งผ้าโพลิเอสเตอร์จะต้องใช้น้ำ 100-150 ลิตรต่อกิโลกรัมเพื่อทำให้สีอิ่มตัว สำหรับไนกี้ โรงงานสิ่งทอที่ไนกี้มีสัญญาผลิตด้วย มีการใช้น้ำประมาณ 3 พันล้านแกลลอนต่อปีในกระบวนการผลิตสินค้าจากโพลิเอสเตอร์และฝ้าย การใช้น้ำปริมาณมากนี้เป็นที่มาที่ยักษ์ใหญ่แห่งวงการสปอร์ตแวร์ของโลกทั้งสองรายพยายามที่ปรับใช้เทคโนโลยีใหม่นี้ในการกระบวนการผลิตเพื่อที่จะรักษาน้ำ ลดการใช้พลังงาน และร่วมการรณรงค์ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงอากาศโลกIan Burnell ผู้อำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีของ Huntsman ได้พูดถึงเทคโนโลยีนี้ว่า “เป็นวิวัฒนาการของอุตสาหกรรม ยังไม่มีระบบไหนที่เหมือนเทคโนโลยีนี้ ซึ่งเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง และย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: