ทิศทางการศึกษาไทย...จะไปทางไหน? | เดลินิวส์„เรามักได้ยินเสียงวิพากษ์วิ การแปล - ทิศทางการศึกษาไทย...จะไปทางไหน? | เดลินิวส์„เรามักได้ยินเสียงวิพากษ์วิ อังกฤษ วิธีการพูด

ทิศทางการศึกษาไทย...จะไปทางไหน? | เ

ทิศทางการศึกษาไทย...จะไปทางไหน? | เดลินิวส์
„เรามักได้ยินเสียงวิพากษ์วิจารณ์บ่อยครั้งว่าปัญหาการศึกษาไทยที่หมักหมมนั้นจะต้องปรับรื้อปฏิรูปทั้งระบบ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหลักสูตร ครูผู้สอน วิธีการสอน คุณภาพผู้เรียน ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยในปัจจุบันนั้นได้ยัดเยียดอัดแน่นให้เด็กต้องเรียนรู้เนื้อหาสาระมากมายหลายวิชาจนเกินความจำเป็น โดยกำหนดให้เรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งการกำหนดเช่นนี้ดูเหมือนจะไม่ได้คำนึงถึงความสมเหตุสมผลหรือความสอดคล้องจำเป็นของผู้เรียนแต่ละช่วงวัย การยัดเยียดให้เด็กต้องเรียนเนื้อหามากมายอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ช่วงที่ผ่านมามีการมุ่งเน้นพัฒนาเฉพาะด้านความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) ของผู้เรียน เพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้ครบถ้วนตามเนื้อหาสาระที่หลักสูตรกำหนด จนบางครั้งลืมว่าเราจะต้องพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์หรือการเข้าสังคม (EQ) ของผู้เรียนควบคู่กันไปด้วย ซึ่งแน่นอนเด็กแต่ละคนที่เกิดมาในบริบทที่ต่างกันย่อมมีระดับ IQ ที่ไม่เท่ากัน แล้วจะทำอย่างไรให้เด็กทุกคนมีระดับ EQ ที่สูงขึ้น เพราะ EQ จะเป็นตัวช่วยสำคัญที่จะเป็นพลังขับเคลื่อนให้สังคมก้าวไกลไปได้ ส่วนครูผู้สอนต้องรับภาระงานอื่นที่ไม่ใช่งานสอนอีกมากมาย เวลาเกือบครึ่งหนึ่งของครูต้องไปทุ่มเทให้กับงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงงานประเมินทั้งระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับชาติ นับแทบไม่ถ้วนที่ครูแต่ละคนต้องเตรียมงานเพื่อรับประเมินเหล่านั้น จนไม่มีเวลาให้กับห้องเรียน และบ่อยครั้งที่ครูต้องทิ้งห้องเรียน เหล่านี้เป็นต้นเหตุสำคัญที่ส่งผลให้เด็กจำนวนไม่น้อยอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ ซึ่งส่งผลถึงคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมตกต่ำอย่างน่าตกใจ“
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ทิศทางการศึกษาไทย... จะไปทางไหน? | เดลินิวส์"เรามักได้ยินเสียงวิพากษ์วิจารณ์บ่อยครั้งว่าปัญหาการศึกษาไทยที่หมักหมมนั้นจะต้องปรับรื้อปฏิรูปทั้งระบบไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหลักสูตรครูผู้สอนวิธีการสอนคุณภาพผู้เรียนฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยในปัจจุบันนั้นได้ยัดเยียดอัดแน่นให้เด็กต้องเรียนรู้เนื้อหาสาระมากมายหลายวิชาจนเกินความจำเป็นโดยกำหนดให้เรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งการกำหนดเช่นนี้ดูเหมือนจะไม่ได้คำนึงถึงความสมเหตุสมผลหรือความสอดคล้องจำเป็นของผู้เรียนแต่ละช่วงวัยการยัดเยียดให้เด็กต้องเรียนเนื้อหามากมายอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ช่วงที่ผ่านมามีการมุ่งเน้นพัฒนาเฉพาะด้านความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) ของผู้เรียนเพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้ครบถ้วนตามเนื้อหาสาระที่หลักสูตรกำหนดจนบางครั้งลืมว่าเราจะต้องพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์หรือการเข้าสังคม (EQ) ของผู้เรียนควบคู่กันไปด้วยซึ่งแน่นอนเด็กแต่ละคนที่เกิดมาในบริบทที่ต่างกันย่อมมีระดับ IQ ที่ไม่เท่ากันแล้วจะทำอย่างไรให้เด็กทุกคนมีระดับ EQ ที่สูงขึ้นเพราะ EQ จะเป็นตัวช่วยสำคัญที่จะเป็นพลังขับเคลื่อนให้สังคมก้าวไกลไปได้ส่วนครูผู้สอนต้องรับภาระงานอื่นที่ไม่ใช่งานสอนอีกมากมายเวลาเกือบครึ่งหนึ่งของครูต้องไปทุ่มเทให้กับงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายรวมถึงงานประเมินทั้งระดับสถานศึกษาระดับเขตพื้นที่ระดับชาตินับแทบไม่ถ้วนที่ครูแต่ละคนต้องเตรียมงานเพื่อรับประเมินเหล่านั้นจนไม่มีเวลาให้กับห้องเรียนและบ่อยครั้งที่ครูต้องทิ้งห้องเรียนเหล่านี้เป็นต้นเหตุสำคัญที่ส่งผลให้เด็กจำนวนไม่น้อยอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ซึ่งส่งผลถึงคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมตกต่ำอย่างน่าตกใจ"
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ทิศทางการศึกษาไทย ... จะไปทางไหน? |
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหลักสูตรครู ผู้สอนวิธีการสอนคุณภาพผู้เรียน ฯลฯ โดยกำหนดให้เรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (IQ) ของผู้เรียน (EQ) ของผู้เรียนควบคู่กันไปด้วย ไอคิวที่ไม่เท่ากัน EQ ที่สูงขึ้นเพราะ EQ ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ระดับเขตพื้นที่ระดับชาติ จนไม่มีเวลาให้กับห้องเรียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ทิศทางการศึกษาไทย . . . . . . . จะไปทางไหน ? | เดลินิวส์„เรามักได้ยินเสียงวิพากษ์วิจารณ์บ่อยครั้งว่าปัญหาการศึกษาไทยที่หมักหมมนั้นจะต้องปรับรื้อปฏิรูปทั้งระบบไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหลักสูตรครูผู้สอนวิธีการสอนคุณภาพผู้เรียนฯลฯโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยในปัจจุบันนั้นได้ยัดเยียดอัดแน ่นให้เด็กต้องเรียนรู้เนื้อหาสาระมากมายหลายวิชาจนเกินความจำเป็นโดยกำหนดให้เรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งการกำหนดเช่นนี้ดูเหมือนจะไม่ได้คำนึงถึงความสมเหตุสมผลหรือความสอดคล้องจำเป็นของผู้เรียนแต่ล ะช่วงวัยการยัดเยียดให้เด็กต้องเรียนเนื้อหามากมายอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ช่วงที่ผ่านมามีการมุ่งเน้นพัฒนาเฉพาะด้านความฉลาดทางสติปัญญา ( IQ ) ของผู้เรียนเพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้ครบถ้วนตามเนื้อหาสาระที่หลักสูตรกำหนดจนบางครั้งลืมว่าเราจะต้องพัฒนาค วามฉลาดทางอารมณ์หรือการเข้าสังคม ( EQ ) ของผู้เรียนควบคู่กันไปด้วยซึ่งแน่นอนเด็กแต่ละคนที่เกิดมาในบริบทที่ต่างกันย่อมมีระดับ IQ EQ ที่ไม่เท่ากันแล้วจะทำอย่างไรให้เด็กทุกคนมีระดับที่สูงขึ้นเพราะจะเป็นตัวช่วยสำคัญที่จะเป็นพลังขับเคลื่อนให้สังคมก้าวไกลไปได้ส่วอีคิว นครูผู้สอนต้องรับภาระงานอื่นที่ไม่ใช่งานสอนอีกมากมายเวลาเกือบครึ่งหนึ่งของครูต้องไปทุ่มเทให้กับงานอื่นจะที่ได้รับมอบหมายรวมถึงงานประเมินทั้งระดับสถานศึกษาระดับเขตพื้นที่ระดับชาตินับแทบไม่ถ้วนที่ครูแต่ละคนต้องเตรียมงานเพื่อรับประเมินเหล่านั้นจนไม่มี เวลาให้กับห้องเรียนและบ่อยครั้งที่ครูต้องทิ้งห้องเรียนเหล่านี้เป็นต้นเหตุสำคัญที่ส่งผลให้เด็กจำนวนไม่น้อยอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ซึ่งส่งผลถึงคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมตกต่ำอย่างน่าตกใจ "
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: