เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋节 วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติจีน ถือ การแปล - เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋节 วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติจีน ถือ จีน วิธีการพูด

เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋节 วันขึ้น 15

เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋节


 

วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติจีน ถือเป็น 中秋"วันจงชิว" (Zhong Qiu) หรือ "วันไหว้พระจันทร์" ซึ่งเป็นประเพณีที่ชาวจีนถือปฏิบัติสืบต่อกันมานับพันปี ใน "วันจงชิว" นี้ ชาวจีนจะให้ความสำคัญกับเรื่องการอยู่พร้อมหน้ากันของสมาชิกในครอบครัว ร่วมชมจันทร์เพ็ญที่ทอแสงนวลและอธิษฐานขอให้มีความกลมเกลียวและผาสุกในครอบครัว

วันไหว้พระจันทร์มีความเกี่ยวข้องกับปฏิทินจันทรคติอย่างแนบแน่น ตามปฏิทินจันทรคติของจีนนั้น เดือน 8 เป็นช่วงกลางของฤดูใบไม้ร่วง ส่วนวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ก็เป็นช่วงกลางของเดือน 8 เช่นกัน ฉะนั้น วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8  จึงถูกเรียกว่า "จงชิว" (Zhong Qiu) แปลว่า "กลางฤดูใบไม้ร่วง"

มีความเชื่อกันโดยทั่วไปว่า ในวันดังกล่าว เราจะสามารถมองเห็นพระจันทร์ได้เต็มดวงใหญ่ที่สุดกลมที่สุดและสว่างที่สุด ด้วยเหตุนี้จึงมีกิจกรรมต่างๆ มากมายในช่วงวันไหว้พระจันทร์ เช่น การเซ่นไหว้พระจันทร์ การคำนับพระจันทร์และการชมพระจันทร์ เป็นต้น

ความเป็นมาที่เก่าแก่ที่สุดของวันไหว้พระจันทร์นั้นมาจากพิธีเซ่นไหว้พระจันทร์ในสมัยโบราณของจีน หนังสือโบราณบันทึกไว้ว่า คำว่า "จงชิว" (Zhong Qiu) นี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกเมื่อกว่า 2,000 ปีก่อน สมัยนั้นมีพระราชพิธีเซ่นไหว้พระจันทร์ในฤดูใบไม้ร่วงโดยพระเจ้าแผ่นดิน

ทั้งนี้ก็เนื่องจากว่า ในทัศนะของคนโบราณนั้น หากพระจันทร์ไม่มอบน้ำค้างให้แก่โลก และหากไม่มีจันทร์เสี้ยวและจันทร์เพ็ญมาช่วยคำนวณเวลาทำนาแล้ว ก็ไม่มีทางที่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้อุดมสมบูรณ์ 月坛 "เยว่ถาน" (Yue Tan) หรือ "หอบวงสรวงพระจันทร์" ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงของกรุงปักกิ่งก็เป็นสถานที่ที่ใช้ประกอบพิธีเซ่นไหว้พระจันทร์ของกษัตริย์จีนโบราณ

สำหรับประชาชนทั่วไปแล้ว ก็มีการสร้าง "สถานเซ่นไหว้พระจันร์" "เก๋งไหว้พระจันทร์" และ "ศาลาชมจันทร์" หลายต่อหลายแห่งเช่นกัน

ในส่วนของนิทานปรัมปราที่เกี่ยวข้องกับพระจันทร์นั้นก็มีมากมาย เช่นมีอยู่เรื่องหนึ่งเล่ากันว่า พระเจ้าถังเสวียนจงของราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907) ทรงปรีชาสามารถและชำนาญในศาสตร์ต่างๆ มีอยู่ปีหนึ่งในช่วงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ขณะที่พระองค์กำลังทอดพระเนตรไปยังจันทร์เพ็ญนั้นก็มีพระราชประสงค์ขึ้นมาในบัดดลว่า อยากจะไปท่องพระจันทร์ ในที่สุดด้วยอิทธิฤทธิ์ของเซียน ก็บันดาลให้พระองค์เหาะไปถึงพระจันทร์ และทรงเห็นวิมานหลังหนึ่งชื่อว่า "วิมานกว่างหานกง" ซึ่งมีนางฟ้ากลุ่มหนึ่งกำลังระบำรำฟ้อนอย่างงดงามไปตามจังหวะดนตรีอันไพเราะจับใจ ถึงกับทำให้พระองค์ทรงเคลิบเคลิ้มไปกับความงามนั้น ต่อมาเมื่อกลับถึงแดนมนุษย์แล้ว พระองค์ก็นำเสียงดนตรีที่เคยได้ยินมาจากวิมานพระจันทร์นิพนธ์แต่งเป็นบทเพลงชื่อว่า "เสื้อสายรุ้ง" บทเพลงนี้ไพเราะเพราะพริ้งและสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน

ท่ามกลางกระบวนการวิวัฒนาการนั้น วันไหว้พระจันทร์ก็มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งขึ้นมา คือได้รับการนิยามว่าเป็น "วันแห่งการอยู่พร้อมหน้าของครอบครัว" เพราะชาวจีนเห็นว่า วงกลมของพระจันทร์เปรียบเสมือนการครบถ้วนบริบูรณ์ของสมาชิกครอบครัวนั่นเอง

ฉะนั้น ชาวจีนจึงนิยมอยู่กันพร้อมหน้าในวันไหว้พระจันทร์ รับประทานอาหารร่วมกัน รอจนถึงเวลาที่จันทร์เพ็ญลอยกระจ่างฟ้า ก็จะกางโต๊ะในลานกลางแจ้ง จัดผลไม้ขนมขบเคี้ยวและอาหารอื่นๆ หลากหลายไว้บนโต๊ะ แล้วจึงเซ่นไหว้พระจันทร์ด้วยกัน ขอให้มีความสุขและความบริบูรณ์กันถ้วนหน้า

月饼"เยว่ปิ่ง" (Yue Bing) หรือ "ขนมไหว้พระจันทร์" (Moon Cake) เป็นของกินที่ขาดเสียไม่ได้ในเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ มีการจำหน่ายกันล่วงหน้าก่อนวันไหว้พระจันทร์ประมาณ 1 เดือน แต่หลังจากวันไหว้พระจันทร์ผ่านไปแล้วก็จะไม่มีผู้ซื้ออีก ขนมไหว้พระจันทร์จะทำเป็นรูปกลม จะสอดไส้ชนิดต่างๆ เช่น งา อบเชย ถั่วลิสงและถั่วบด เป็นต้น ที่เมืองไทยยังมีขนมไหว้พระจันทร์ไส้ทุเรียน

เนื่องด้วยความสำคัญพิเศษของวันไหว้พระจันทร์ ทำให้ผู้ที่พลัดถิ่นจากบ้านเกิดมีความคิดถึงบ้านอย่างสุดซึ้งในวันไหว้พระจันทร์

กาพย์กลอนที่เกี่ยวข้องกับพระจันทร์ก็มีมากมายเหลือคณาเช่นกัน ล้วนถ่ายทอดให้เห็นถึงหัวอกของคนคิดถึงบ้านที่ฝากไว้กับพระจันทร์ อย่างเช่น 举头望明月,低头思故乡。"เงยหน้ามองจันทร์แจ่มฟ้าผ่องอำไพ ก้มหน้าไซร้คิดถึงบ้านเกิดตน" โดยหลี่ไป๋ 李白กวีสมัยราชวงศ์ถัง

และ "จันทร์เพ็ญลอยเด่นเหนือมหานที แม้นยามนี้ไกลกันสุดฝันหา ถึงจะอยู่คนละฝั่งฟากฟ้า ยังหรรษาชมเดือนดวงเดียวกัน" เป็นต้น ล้วนเป็นกลอนที่เสมือนหนึ่งเสียงจากใจของลูกหลานจีนที่อยู่ไกลในต่างแดนทั่วโลกในคืนวันไหว้พระจันทร์  

เมื่อปี 2549 "วันไหว้พระจันทร์" ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกวัฒนธรรมวิถีชนชิ้นเยี่ยมของจีน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (จีน) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋节 วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติจีน ถือเป็น 中秋"วันจงชิว" (Zhong Qiu) หรือ "วันไหว้พระจันทร์" ซึ่งเป็นประเพณีที่ชาวจีนถือปฏิบัติสืบต่อกันมานับพันปี ใน "วันจงชิว" นี้ ชาวจีนจะให้ความสำคัญกับเรื่องการอยู่พร้อมหน้ากันของสมาชิกในครอบครัว ร่วมชมจันทร์เพ็ญที่ทอแสงนวลและอธิษฐานขอให้มีความกลมเกลียวและผาสุกในครอบครัววันไหว้พระจันทร์มีความเกี่ยวข้องกับปฏิทินจันทรคติอย่างแนบแน่น ตามปฏิทินจันทรคติของจีนนั้น เดือน 8 เป็นช่วงกลางของฤดูใบไม้ร่วง ส่วนวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ก็เป็นช่วงกลางของเดือน 8 เช่นกัน ฉะนั้น วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 จึงถูกเรียกว่า "จงชิว" (Zhong Qiu) แปลว่า "กลางฤดูใบไม้ร่วง"มีความเชื่อกันโดยทั่วไปว่า ในวันดังกล่าว เราจะสามารถมองเห็นพระจันทร์ได้เต็มดวงใหญ่ที่สุดกลมที่สุดและสว่างที่สุด ด้วยเหตุนี้จึงมีกิจกรรมต่างๆ มากมายในช่วงวันไหว้พระจันทร์ เช่น การเซ่นไหว้พระจันทร์ การคำนับพระจันทร์และการชมพระจันทร์ เป็นต้นความเป็นมาที่เก่าแก่ที่สุดของวันไหว้พระจันทร์นั้นมาจากพิธีเซ่นไหว้พระจันทร์ในสมัยโบราณของจีน หนังสือโบราณบันทึกไว้ว่า คำว่า "จงชิว" (Zhong Qiu) นี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกเมื่อกว่า 2,000 ปีก่อน สมัยนั้นมีพระราชพิธีเซ่นไหว้พระจันทร์ในฤดูใบไม้ร่วงโดยพระเจ้าแผ่นดินทั้งนี้ก็เนื่องจากว่า ในทัศนะของคนโบราณนั้น หากพระจันทร์ไม่มอบน้ำค้างให้แก่โลก และหากไม่มีจันทร์เสี้ยวและจันทร์เพ็ญมาช่วยคำนวณเวลาทำนาแล้ว ก็ไม่มีทางที่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้อุดมสมบูรณ์ 月坛 "เยว่ถาน" (Yue Tan) หรือ "หอบวงสรวงพระจันทร์" ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงของกรุงปักกิ่งก็เป็นสถานที่ที่ใช้ประกอบพิธีเซ่นไหว้พระจันทร์ของกษัตริย์จีนโบราณสำหรับประชาชนทั่วไปแล้ว ก็มีการสร้าง "สถานเซ่นไหว้พระจันร์" "เก๋งไหว้พระจันทร์" และ "ศาลาชมจันทร์" หลายต่อหลายแห่งเช่นกันในส่วนของนิทานปรัมปราที่เกี่ยวข้องกับพระจันทร์นั้นก็มีมากมาย เช่นมีอยู่เรื่องหนึ่งเล่ากันว่า พระเจ้าถังเสวียนจงของราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907) ทรงปรีชาสามารถและชำนาญในศาสตร์ต่างๆ มีอยู่ปีหนึ่งในช่วงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ขณะที่พระองค์กำลังทอดพระเนตรไปยังจันทร์เพ็ญนั้นก็มีพระราชประสงค์ขึ้นมาในบัดดลว่า อยากจะไปท่องพระจันทร์ ในที่สุดด้วยอิทธิฤทธิ์ของเซียน ก็บันดาลให้พระองค์เหาะไปถึงพระจันทร์ และทรงเห็นวิมานหลังหนึ่งชื่อว่า "วิมานกว่างหานกง" ซึ่งมีนางฟ้ากลุ่มหนึ่งกำลังระบำรำฟ้อนอย่างงดงามไปตามจังหวะดนตรีอันไพเราะจับใจ ถึงกับทำให้พระองค์ทรงเคลิบเคลิ้มไปกับความงามนั้น ต่อมาเมื่อกลับถึงแดนมนุษย์แล้ว พระองค์ก็นำเสียงดนตรีที่เคยได้ยินมาจากวิมานพระจันทร์นิพนธ์แต่งเป็นบทเพลงชื่อว่า "เสื้อสายรุ้ง" บทเพลงนี้ไพเราะเพราะพริ้งและสืบทอดมาจนถึงปัจจุบันท่ามกลางกระบวนการวิวัฒนาการนั้น วันไหว้พระจันทร์ก็มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งขึ้นมา คือได้รับการนิยามว่าเป็น "วันแห่งการอยู่พร้อมหน้าของครอบครัว" เพราะชาวจีนเห็นว่า วงกลมของพระจันทร์เปรียบเสมือนการครบถ้วนบริบูรณ์ของสมาชิกครอบครัวนั่นเองฉะนั้น ชาวจีนจึงนิยมอยู่กันพร้อมหน้าในวันไหว้พระจันทร์ รับประทานอาหารร่วมกัน รอจนถึงเวลาที่จันทร์เพ็ญลอยกระจ่างฟ้า ก็จะกางโต๊ะในลานกลางแจ้ง จัดผลไม้ขนมขบเคี้ยวและอาหารอื่นๆ หลากหลายไว้บนโต๊ะ แล้วจึงเซ่นไหว้พระจันทร์ด้วยกัน ขอให้มีความสุขและความบริบูรณ์กันถ้วนหน้า
月饼"เยว่ปิ่ง" (Yue Bing) หรือ "ขนมไหว้พระจันทร์" (Moon Cake) เป็นของกินที่ขาดเสียไม่ได้ในเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ มีการจำหน่ายกันล่วงหน้าก่อนวันไหว้พระจันทร์ประมาณ 1 เดือน แต่หลังจากวันไหว้พระจันทร์ผ่านไปแล้วก็จะไม่มีผู้ซื้ออีก ขนมไหว้พระจันทร์จะทำเป็นรูปกลม จะสอดไส้ชนิดต่างๆ เช่น งา อบเชย ถั่วลิสงและถั่วบด เป็นต้น ที่เมืองไทยยังมีขนมไหว้พระจันทร์ไส้ทุเรียน

เนื่องด้วยความสำคัญพิเศษของวันไหว้พระจันทร์ ทำให้ผู้ที่พลัดถิ่นจากบ้านเกิดมีความคิดถึงบ้านอย่างสุดซึ้งในวันไหว้พระจันทร์

กาพย์กลอนที่เกี่ยวข้องกับพระจันทร์ก็มีมากมายเหลือคณาเช่นกัน ล้วนถ่ายทอดให้เห็นถึงหัวอกของคนคิดถึงบ้านที่ฝากไว้กับพระจันทร์ อย่างเช่น 举头望明月,低头思故乡。"เงยหน้ามองจันทร์แจ่มฟ้าผ่องอำไพ ก้มหน้าไซร้คิดถึงบ้านเกิดตน" โดยหลี่ไป๋ 李白กวีสมัยราชวงศ์ถัง

และ "จันทร์เพ็ญลอยเด่นเหนือมหานที แม้นยามนี้ไกลกันสุดฝันหา ถึงจะอยู่คนละฝั่งฟากฟ้า ยังหรรษาชมเดือนดวงเดียวกัน" เป็นต้น ล้วนเป็นกลอนที่เสมือนหนึ่งเสียงจากใจของลูกหลานจีนที่อยู่ไกลในต่างแดนทั่วโลกในคืนวันไหว้พระจันทร์  

เมื่อปี 2549 "วันไหว้พระจันทร์" ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกวัฒนธรรมวิถีชนชิ้นเยี่ยมของจีน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (จีน) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
中秋节中秋节15日农历正月中国农历是8中秋说:“星洲日报”(钟秋),或“月亮节”,这是中国传统的做法可以追溯到几千年前。“ 如今,邱说,“中国将在住在家里特色在一起。参加满月照耀软,祈求团结和家庭幸福与农历密切月亮有关。根据中国的那个月的农历日历,8是15日农历正月八秋季的中间,这是本月8的中间,清楚,15日农历正月的一天,八人被称为“做寒意”(钟秋。 )意为“中秋”,一般认为。在这样的日期 我们可以看到最大的满月,又圆又亮越好。这就是为什么各种活动。在很多月球的月球产品。观众迎接月亮与月亮。因此是最古老的月亮是从中国古代月亮祭祖仪式。古书上记录的字“咀嚼”(钟秋)超过2000多年前出现的第一次,当时的皇家祭祖月亮秋神那是因为这一点。古代人的观点 如果月亮没有给露了世界。如果没有月牙,并帮助计算时间做到这一点。有没有办法收获丰富的月坛“岳库尔德斯坦”(月坛),或“牺牲月亮殿”,这是北京的著名建筑,它是地方仪式詹森月亮王中国。 古为广大市民,这是打造“一个地方提供月球的”,“沃利月亮”和“萨拉星期一”尽可能多的与月亮有关的神话是巨大的。例如,有一个故事告诉。上帝说唐朝(公元618 - 907年)的罐壶其余的人觊觎,并在不同的科学知识。有一年15号农历正月期间,8日上午,当他看着月亮,那是他的意图是消除了。想要畅游月球 最后,大师的异能 给他飞向月球。他的城堡之一而得名。“看在上帝比鸟”,一群仙女优雅地跳舞的音乐魅力的节奏。他忍受着它,败兴而归的美感。后来,当我回到了凡人的境界。他带领乐队已经从天上月亮谱写了一曲名为论文听到。“衬衫彩虹”的主题曲是悦耳和接班人到今天的进化过程中。月亮一天也是另一个重要的走了过来。是被定义为。“天与家人页的”,因为中国人看到。月亮的圆作为家庭它的全面和完整的成员是。中国人是如此受欢迎,月亮在一起。吃起来 等到满月浮晴空。在户外庭院筵席。水果点心等食品。多样性上表 然后詹森月亮在一起。有一个幸福的丰满是普遍的月饼“岳奈美”(岳冰)或“月饼”(月饼)是缺乏吃月饼都没有季节。一起出售约一个月中秋明月前,但今天之后将不再购买。月饼是圆形。是一个充满品种,如桂皮,芝麻,花生,豆类等,泰国是肠道榴莲月饼都因为月球的特殊重要性。谁是从他们的家园的思乡之情在高昂的代价中秋流离失所的人有关月球Kapisklan,有很多极端贫困的为好。所有传达给人们的心中思乡交存明月举头望明月,低头思故乡。“周一看着鲜艳绚丽的蓝色发光。本特肯定会错过自己的家园“,由李白诗人李白唐代和。“月亮漂浮在Mahanatee。即使在这个遥远的梦想对大多数。是在天空的相对侧。此外冷落月相同,“等等,都是要命从谁的海外生活在世界各地的月球之夜中国孩子的心脏的声音,因为2549”在月球上“被视为文化遗产。   一个优秀的一块中国导弹打击


 



























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (จีน) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
中秋节,中秋节 




一天晚上8 15农历月日”是“中秋秋仲秋月圆(中)或“。”这是中国人的习惯做法,它一千年仲秋”,“日在满月的月光照耀,共同祈求有一家庭和谐和幸福

农历中秋节密切相关中国农历月的第8是秋季中间的部分是15黄昏月8 8月中。因此,15天8 被称为“邱”(《仲秋)翻译
“中秋”。
一般相信在这一天,我们可以看到满月的月亮最大最亮最浓密的风因此,有活动在中秋节的月饼等。
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: