สถานการณ์โรค โรคมือเท้าปาก เป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี  การแปล - สถานการณ์โรค โรคมือเท้าปาก เป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี  อังกฤษ วิธีการพูด

สถานการณ์โรค โรคมือเท้าปาก เป็นโรคท

สถานการณ์โรค
โรคมือเท้าปาก เป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในเขตร้อนชื้นพบโรคประปรายตลอดปี ไม่มีฤดูกาลที่ชัดเจน และมักเกิดบ่อยขึ้นในช่วงอากาศเย็น และชื้น ในเขตหนาวพบมากในช่วงฤดูร้อน และต้นฤดูใบไม้ร่วง ในประเทศไทยไม่พบลักษณะการระบาดตามฤดูกาลที่ชัดเจน แต่สังเกตว่าพบผู้ป่วยมากขึ้นตั้งแต่ต้นฤดูฝนจนถึงฤดูหนาว โดยเริ่มพบผู้ป่วยมากตั้งแต่เดือนมิถุนายนและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นสูงสุดในเดือนธันวาคม ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง และแทบไม่มีผู้เสียชีวิตเลย

สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม– 17 มิถุนายนจาก 77 จังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) มีรายงานพบผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก จํานวน 8,577 ราย อัตราป่วย 13.50 ต่อแสนประชากรยังไม่มีรายงานเสียชีวิต ส่วนใหญ่ พบในกลุ่มอายุต่ำกว่า 3 ปี จำนวนร้อยละ 81.89 และยังไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง

สาเหตุ
โรคมือ เท้า ปาก เป็นกลุ่มอาการหนึ่งซึ่งมีสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัสที่สามารถเจริญเติบโตได้ในลำไส้ ที่เรียกว่า เอนเทอโรไวรัส ซึ่งมีหลายชนิด ที่พบบ่อย คือ ไวรัสคอคแซกกี เอ 16 ไวรัสคอคแซกกี เอ สายพันธุ์อื่น ๆ ไวรัสเอนเทอโร 71 และไวรัสเอคโค เป็นต้น โรคนี้พบบ่อยในเด็กทารกและเด็กเล็ก โดยจะมีอาการไข้ มีตุ่มหรือแผลแดงอักเสบที่บริเวณลิ้น เหงือก กระพุ้งแก้ม ฝ่ามือ นิ้วมือ และฝ่าเท้า ในเขตร้อนชื้นพบโรคประปรายตลอดปี ไม่มีฤดูกาลที่ชัดเจน และมักเกิดบ่อยขึ้นในช่วงอากาศเย็นและชื้น
อาการ
หลังจากได้รับเชื้อ 3-6 วัน ผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการด้วยการมีไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ต่อมามีอาการเจ็บปาก กลืนน้ำลายไม่ได้และไม่ยอมรับประทานอาหารและเบื่ออาหาร เนื่องจากมีจุดหรือตุ่มแดงอักเสบที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้ม ต่อมาจะเกิดตุ่มหรือผื่นนูนสีแดงเล็ก (มักไม่คัน) ที่ฝ่ามือ นิ้วมือ (มักอยู่ที่ด้านข้างของนิ้ว) ฝ่าเท้า (มักอยู่ที่ส้นเท้า) และอาจพบที่บริเวณหัวเข่า ข้อศอก หรือก้นได้ ตุ่มนี้จะกลายเป็นตุ่มพองใส (maculo - papular vesicles) บริเวณรอบ ๆ อักเสบและแดง ในปากจะพบเป็นตุ่มแดงที่ลิ้นซึ่งต่อมาจะแตกออกเป็นแผลหลุมตื้นๆ (ulcer) อาการจะทุเลาและหายเป็นปกติ ภายใน 7-10 วัน โดยทั่วไปโรคมือ เท้า ปาก ในประเทศไทยพบโรคนี้ได้บ่อย เป็นโรคที่มีอาการไม่รุนแรง และแทบไม่มีผู้เสียชีวิตเลย พบผู้ป่วยน้อยรายที่มีอาการแทรกซ้อนรุนแรง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ อัมพาต กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก หรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หรือน้ำท่วมปอด ซึ่งจะรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ซึ่งส่วนใหญ่ที่มีอาการรุนแรงเกิดจากเชื้อเอนเทอโรไวรัส 71
การติดต่อ
ไวรัสเข้าสู่ร่างกายทางปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสติดมากับมือ ภาชนะที่ใช้ร่วมกัน เช่น ช้อน แก้วน้ำ หรือของเล่น ที่ปนเปื้อนน้ำลาย น้ำมูก หรือน้ำจากตุ่มพอง แผลในปาก หรืออุจจาระผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสอยู่ เชื้อจะผ่านเข้าไปที่เยื่อบุของคอหอย และลงไปที่ลำไส้ โดยเชื้อไวรัสจะขยายเพิ่มจำนวนที่ต่อมน้ำเหลืองที่คอหอยรวมทั้งทอนซิล และเนื้อเยื่อของระบบน้ำเหลืองบริเวณลำไส้ เชื้อไวรัสที่อยู่ในลำไส้จะถูกขับออกมากับอุจจาระ เชื้อไวรัสจะอยู่ในลำไส้และถูกขับถ่ายปนออกมากับอุจจาระเป็นระยะ ๆ ได้นานถึง 6 - 8 สัปดาห์ การติดต่อมักเกิดขึ้นได้ง่ายในช่วงสัปดาห์แรกของการป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสออกมามาก จากการรับเชื้อไวรัสเข้าสู่ปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสติดมาจากมือหรือของเล่นที่ปนเปื้อนน้ำลาย น้ำมูก หรือน้ำในตุ่มพอง หรือแผล หรืออุจจาระของผู้ป่วย การติดเชื้อจากอุจจาระ จะเกิดได้ถึงระยะที่ผู้ป่วยมีอาการทุเลาจนกระทั่งหายป่วยแล้ว ประมาณ 6-8 สัปดาห์ แต่จะเกิดขึ้นได้น้อยกว่าระยะสัปดาห์แรก ๆ ส่วนการติดต่อทางน้ำหรืออาหารมีโอกาสเกิดได้น้อย โรคนี้ไม่ติดต่อโดยการหายใจ โดยทั่วไปมักเริ่มพบอาการป่วยภายใน 3-6 วัน หลังได้รับเชื้อ

การรักษา
โรคนี้ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรงและหายได้เอง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะป่วยนานประมาณ 7-10 วัน เนื่องจากยังไม่มียาต้านไวรัสชนิดนี้โดยเฉพาะ จึงใช้การรักษาเพื่อบรรเทาอาการต่างๆ เช่น การใช้ยาลดไข้ ยาแก้ปวด ยาทาแก้ปวดในรายที่มีแผลที่ลิ้นและกระพุ้งแก้ม ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กควรเช็ดตัวผู้ป่วยเพื่อลดไข้เป็นระยะ และให้เด็กรับประทานอาหารอ่อน ๆ รสไม่จัด ดื่มน้ำ น้ำผลไม้ และนอนพักผ่อนมาก ๆ ถ้าเป็นเด็กอ่อน อาจต้องป้อนนมให้แทนการดูดนม เพื่อลดการปวดแผลในปาก ที่สำคัญคือการป้องกันอาการแทรกซ้อนที่อาจรุนแรงถึงเสียชีวิต ตามปกติโรคนี้มักไม่รุนแรงและไม่มีอาการแทรกซ้อน แต่ถ้าเกิดจากเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น เอนเทอโรไวรัส 71 อาจทำให้มีอาการรุนแรงได้ จึงควรดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด หากพบมีไข้สูง ซึม ไม่ยอมรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ อาเจียนบ่อย หอบ แขนขาอ่อนแรง ชัก ต้องรีบพาไปโรงพยาบาลทันที เพราะอาจเกิดอาการแทรกซ้อนจากภาวะสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หรือน้ำท่วมปอด ซึ่งจะรุนแรงจนเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กเล็กและเด็กที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น โรคติดเชื้อเอชไอวี โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือผู้ที่ต้องรับประทานยากดภูมิคุ้มกัน

การป้องกันควบคุมโรค
การแยกเด็กป่วยหรือเด็กที่สงสัยว่าป่วยออกจากเด็กปกติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรค รวมทั้งการส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง ได้แก่ การล้างมือ การไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน การป้องกันการไอ-จามรดกัน เป็นต้น เหล่านี้เป็นหัวใจสำคัญในการป้องกันควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดให้มีมาตรการติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์และดำเนินการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในสถานศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมศึกษาทั่วประเทศ โดยร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการให้ดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคกรณีเกิดการระบาด เมื่อพบว่ามีการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ดังต่อไปนี้
เร่งรัดมาตรการสุขาภิบาลในสถานเลี้ยงดูเด็กเล็กในทุกหมู่บ้าน โรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมทุกแห่ง ศูนย์การค้าที่มีเครื่องเล่น ต้องจัดให้มีการทำความสะอาดพื้น ของเล่นเด็ก ห้องสุขาและห้องน้ำ อุปกรณ์สำหรับการรับประทานอ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The disease situation. Hand-foot-mouth disease is a common disease in young children under 5 years old in the tropical disease-sporadic throughout the year. There is no clear and often season occurred more often during cold weather and moisture. In the temperate zone found in the summer and early fall in the country in Thailand do not experience obvious seasonal outbreak. But it noted that more patients were found early in the rainy season until the winter season starting from June, found many patients and is likely the highest increase in December. Most patients have mild symptoms and is rarely fatal, Loei.As for the situation of the country in Thailand since January 1 1934 – June 17 from 2555 77 provinces (including Bangkok) There, the report found, the number of hand, foot, mouth disease rate of 13.50 per hundred thousand sick list, 8,577 population still has no death reports. The majority of Found in the group aged under 3 years and haven't found 81.89 percent of patients with severe symptoms.The cause. Hand-foot-mouth disease is a syndrome which is caused by infection with a virus that can grow in the intestines called enterovirus, which has many common types of viruses is neck to neck khasaek Ki khasaek Ki Aye Aye virus 16 other species. The virus, enterovirus 71 and echo virus, etc. This disease is common in infants and young children, and has a fever. There is a blister or red sores, inflammation, gum, tongue, cheek area. The Palm of the hand, foot and finger. In tropical disease-sporadic throughout the year. There is no clear and often season occurred more often during cold weather and moisture.The symptoms หลังจากได้รับเชื้อ 3-6 วัน ผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการด้วยการมีไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ต่อมามีอาการเจ็บปาก กลืนน้ำลายไม่ได้และไม่ยอมรับประทานอาหารและเบื่ออาหาร เนื่องจากมีจุดหรือตุ่มแดงอักเสบที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้ม ต่อมาจะเกิดตุ่มหรือผื่นนูนสีแดงเล็ก (มักไม่คัน) ที่ฝ่ามือ นิ้วมือ (มักอยู่ที่ด้านข้างของนิ้ว) ฝ่าเท้า (มักอยู่ที่ส้นเท้า) และอาจพบที่บริเวณหัวเข่า ข้อศอก หรือก้นได้ ตุ่มนี้จะกลายเป็นตุ่มพองใส (maculo - papular vesicles) บริเวณรอบ ๆ อักเสบและแดง ในปากจะพบเป็นตุ่มแดงที่ลิ้นซึ่งต่อมาจะแตกออกเป็นแผลหลุมตื้นๆ (ulcer) อาการจะทุเลาและหายเป็นปกติ ภายใน 7-10 วัน โดยทั่วไปโรคมือ เท้า ปาก ในประเทศไทยพบโรคนี้ได้บ่อย เป็นโรคที่มีอาการไม่รุนแรง และแทบไม่มีผู้เสียชีวิตเลย พบผู้ป่วยน้อยรายที่มีอาการแทรกซ้อนรุนแรง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ อัมพาต กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก หรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หรือน้ำท่วมปอด ซึ่งจะรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ซึ่งส่วนใหญ่ที่มีอาการรุนแรงเกิดจากเชื้อเอนเทอโรไวรัส 71Contact ไวรัสเข้าสู่ร่างกายทางปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสติดมากับมือ ภาชนะที่ใช้ร่วมกัน เช่น ช้อน แก้วน้ำ หรือของเล่น ที่ปนเปื้อนน้ำลาย น้ำมูก หรือน้ำจากตุ่มพอง แผลในปาก หรืออุจจาระผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสอยู่ เชื้อจะผ่านเข้าไปที่เยื่อบุของคอหอย และลงไปที่ลำไส้ โดยเชื้อไวรัสจะขยายเพิ่มจำนวนที่ต่อมน้ำเหลืองที่คอหอยรวมทั้งทอนซิล และเนื้อเยื่อของระบบน้ำเหลืองบริเวณลำไส้ เชื้อไวรัสที่อยู่ในลำไส้จะถูกขับออกมากับอุจจาระ เชื้อไวรัสจะอยู่ในลำไส้และถูกขับถ่ายปนออกมากับอุจจาระเป็นระยะ ๆ ได้นานถึง 6 - 8 สัปดาห์ การติดต่อมักเกิดขึ้นได้ง่ายในช่วงสัปดาห์แรกของการป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสออกมามาก จากการรับเชื้อไวรัสเข้าสู่ปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสติดมาจากมือหรือของเล่นที่ปนเปื้อนน้ำลาย น้ำมูก หรือน้ำในตุ่มพอง หรือแผล หรืออุจจาระของผู้ป่วย การติดเชื้อจากอุจจาระ จะเกิดได้ถึงระยะที่ผู้ป่วยมีอาการทุเลาจนกระทั่งหายป่วยแล้ว ประมาณ 6-8 สัปดาห์ แต่จะเกิดขึ้นได้น้อยกว่าระยะสัปดาห์แรก ๆ ส่วนการติดต่อทางน้ำหรืออาหารมีโอกาสเกิดได้น้อย โรคนี้ไม่ติดต่อโดยการหายใจ โดยทั่วไปมักเริ่มพบอาการป่วยภายใน 3-6 วัน หลังได้รับเชื้อThe treatment โรคนี้ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรงและหายได้เอง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะป่วยนานประมาณ 7-10 วัน เนื่องจากยังไม่มียาต้านไวรัสชนิดนี้โดยเฉพาะ จึงใช้การรักษาเพื่อบรรเทาอาการต่างๆ เช่น การใช้ยาลดไข้ ยาแก้ปวด ยาทาแก้ปวดในรายที่มีแผลที่ลิ้นและกระพุ้งแก้ม ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กควรเช็ดตัวผู้ป่วยเพื่อลดไข้เป็นระยะ และให้เด็กรับประทานอาหารอ่อน ๆ รสไม่จัด ดื่มน้ำ น้ำผลไม้ และนอนพักผ่อนมาก ๆ ถ้าเป็นเด็กอ่อน อาจต้องป้อนนมให้แทนการดูดนม เพื่อลดการปวดแผลในปาก ที่สำคัญคือการป้องกันอาการแทรกซ้อนที่อาจรุนแรงถึงเสียชีวิต ตามปกติโรคนี้มักไม่รุนแรงและไม่มีอาการแทรกซ้อน แต่ถ้าเกิดจากเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น เอนเทอโรไวรัส 71 อาจทำให้มีอาการรุนแรงได้ จึงควรดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด หากพบมีไข้สูง ซึม ไม่ยอมรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ อาเจียนบ่อย หอบ แขนขาอ่อนแรง ชัก ต้องรีบพาไปโรงพยาบาลทันที เพราะอาจเกิดอาการแทรกซ้อนจากภาวะสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หรือน้ำท่วมปอด ซึ่งจะรุนแรงจนเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กเล็กและเด็กที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น โรคติดเชื้อเอชไอวี โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือผู้ที่ต้องรับประทานยากดภูมิคุ้มกันการป้องกันควบคุมโรค การแยกเด็กป่วยหรือเด็กที่สงสัยว่าป่วยออกจากเด็กปกติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรค รวมทั้งการส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง ได้แก่ การล้างมือ การไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน การป้องกันการไอ-จามรดกัน เป็นต้น เหล่านี้เป็นหัวใจสำคัญในการป้องกันควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดให้มีมาตรการติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์และดำเนินการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในสถานศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมศึกษาทั่วประเทศ โดยร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการให้ดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรคกรณีเกิดการระบาด เมื่อพบว่ามีการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ดังต่อไปนี้เร่งรัดมาตรการสุขาภิบาลในสถานเลี้ยงดูเด็กเล็กในทุกหมู่บ้าน โรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมทุกแห่ง ศูนย์การค้าที่มีเครื่องเล่น ต้องจัดให้มีการทำความสะอาดพื้น ของเล่นเด็ก ห้องสุขาและห้องน้ำ อุปกรณ์สำหรับการรับประทานอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: