ในปัจจุบัน ปัญหาเรื่องกระบวนการศึกษาค้นคว้าในงานวิจัยกับการสร้างสรรค์ง การแปล - ในปัจจุบัน ปัญหาเรื่องกระบวนการศึกษาค้นคว้าในงานวิจัยกับการสร้างสรรค์ง อังกฤษ วิธีการพูด

ในปัจจุบัน ปัญหาเรื่องกระบวนการศึกษ

ในปัจจุบัน ปัญหาเรื่องกระบวนการศึกษาค้นคว้าในงานวิจัยกับการสร้างสรรค์งานศิลปะเป็นประเด็นที่น่าสนใจและมีข้อถกเถียงกันค่อนข้างมากว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ในหลายแง่มุมจากนักวิชาการทางศิลปะทั้งในประเทศ และต่างประเทศ แต่ปัญหาดังกล่าว ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน ทั้งนี้เพราะศาสตร์ทั้งสองศาสตร์นี้มีธรรมชาติที่ต่างกัน กล่าวคือ งานวิจัยเป็นศาสตร์ที่มีกระบวนการศึกษา ค้นคว้า เพื่อหาความรู้ใหม่อย่างมีระบบแบบแผนตามหลักเหตุผล ส่วนการ สร้างสรรค์ศิลปะเป็นศาสตร์ที่มีกระบวนการศึกษา ค้นคว้า เพื่อสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ หรือเพื่อการพัฒนาของเดิมให้ดีขึ้น ทำให้เกิดผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตน กระบวนการหาความรู้ใหม่อาจไม่จำเป็นต้องทำตามระบบแบบแผน บ่อยครั้งจะเป็นการแสดงออกโดยตรงจากสัญชาตญาณโดยไม่ใช้เหตุผล และการได้ความรู้ใหม่อาจเกิดจากการค้นพบโดยบังเอิญ ซึ่งจากความแตกต่างกันของทั้งสองศาสตร์นี้ ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมาในต่างประเทศมีการถกประเด็นการวิจัยกับการสร้างสรรค์ศิลปะอย่างกว้างขวาง สาระสำคัญของการถกเถียงกัน คือ ความเป็นวิชาการของการปฏิบัติการและทฤษฎีทาง ทัศนศิลป์ รวมทั้งความเข้าใจเรื่องการวิจัยในเชิงปฏิบัติการทางศิลปะ ซึ่งสามารถสรุปออกมาเป็น 3 ประเด็นใหญ่ ดังนี้คือ (Gray and Malins, 2004)
1. การปฏิบัติการสร้างสรรค์งานศิลปะถือว่าเป็นการวิจัยในตัวเองอยู่แล้ว
2. การสร้างสรรค์มีลักษณะที่สามารถเทียบเคียงกับงานวิจัยได้
3. การปฏิบัติการทางศิลปะไม่มีทางที่จะเป็นการวิจัยได้
Frayling (1993, p 4) กล่าวว่า “การวิจัยผ่านศิลปะจัดเป็นความพยายามบันทึก เพื่อสื่อสารผลจากการสร้างสรรค์งานศิลปะและสะท้อนกระบวนการทำงานทุกขั้นตอน แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำมาเผยแพร่ให้ เข้าใจได้ ย่อมจะเป็นประโยชน์ต่อการขยายระเบียบและประเพณีด้านการวิจัยทางศิลปะ” ดังนั้น ในการศึกษาศิลปะไม่ว่า ระดับใดก็ตาม ผู้ศึกษาหรือผู้สร้างสรรค์ต้องสามารถอธิบายสาระสำคัญของแนวคิด ทฤษฎี กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะ อย่างมีหลักวิชาการที่คนในวงการศิลปะยอมรับ อันจะนำไปสู่การแสวงหาหนทางร่วมกันที่จะผลักดันให้การสร้างสรรค์งาน ศิลปะเป็นที่ยอมรับและเป็นศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ในปัจจุบัน ปัญหาเรื่องกระบวนการศึกษาค้นคว้าในงานวิจัยกับการสร้างสรรค์งานศิลปะเป็นประเด็นที่น่าสนใจและมีข้อถกเถียงกันค่อนข้างมากว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ในหลายแง่มุมจากนักวิชาการทางศิลปะทั้งในประเทศ และต่างประเทศ แต่ปัญหาดังกล่าว ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน ทั้งนี้เพราะศาสตร์ทั้งสองศาสตร์นี้มีธรรมชาติที่ต่างกัน กล่าวคือ งานวิจัยเป็นศาสตร์ที่มีกระบวนการศึกษา ค้นคว้า เพื่อหาความรู้ใหม่อย่างมีระบบแบบแผนตามหลักเหตุผล ส่วนการ สร้างสรรค์ศิลปะเป็นศาสตร์ที่มีกระบวนการศึกษา ค้นคว้า เพื่อสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ หรือเพื่อการพัฒนาของเดิมให้ดีขึ้น ทำให้เกิดผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตน กระบวนการหาความรู้ใหม่อาจไม่จำเป็นต้องทำตามระบบแบบแผน บ่อยครั้งจะเป็นการแสดงออกโดยตรงจากสัญชาตญาณโดยไม่ใช้เหตุผล และการได้ความรู้ใหม่อาจเกิดจากการค้นพบโดยบังเอิญ ซึ่งจากความแตกต่างกันของทั้งสองศาสตร์นี้ ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมาในต่างประเทศมีการถกประเด็นการวิจัยกับการสร้างสรรค์ศิลปะอย่างกว้างขวาง สาระสำคัญของการถกเถียงกัน คือ ความเป็นวิชาการของการปฏิบัติการและทฤษฎีทาง ทัศนศิลป์ รวมทั้งความเข้าใจเรื่องการวิจัยในเชิงปฏิบัติการทางศิลปะ ซึ่งสามารถสรุปออกมาเป็น 3 ประเด็นใหญ่ ดังนี้คือ (Gray and Malins, 2004)1. การปฏิบัติการสร้างสรรค์งานศิลปะถือว่าเป็นการวิจัยในตัวเองอยู่แล้ว2. การสร้างสรรค์มีลักษณะที่สามารถเทียบเคียงกับงานวิจัยได้3. การปฏิบัติการทางศิลปะไม่มีทางที่จะเป็นการวิจัยได้Frayling (1993, p 4) กล่าวว่า “การวิจัยผ่านศิลปะจัดเป็นความพยายามบันทึก เพื่อสื่อสารผลจากการสร้างสรรค์งานศิลปะและสะท้อนกระบวนการทำงานทุกขั้นตอน แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำมาเผยแพร่ให้ เข้าใจได้ ย่อมจะเป็นประโยชน์ต่อการขยายระเบียบและประเพณีด้านการวิจัยทางศิลปะ” ดังนั้น ในการศึกษาศิลปะไม่ว่า ระดับใดก็ตาม ผู้ศึกษาหรือผู้สร้างสรรค์ต้องสามารถอธิบายสาระสำคัญของแนวคิด ทฤษฎี กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะ อย่างมีหลักวิชาการที่คนในวงการศิลปะยอมรับ อันจะนำไปสู่การแสวงหาหนทางร่วมกันที่จะผลักดันให้การสร้างสรรค์งาน ศิลปะเป็นที่ยอมรับและเป็นศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
In the current issue of the research study in the creative arts is an interesting issue and a debate rather than have the same or different. In many aspects of academic art in the country. And abroad But such problems No clear conclusions Because science both science is naturally differ, the research is a science with the study, to learn new systems are structured by reason of artistic creation is a science that has the research to innovate. Or to the development of the original, the better. The contribution of a particular identity. The new knowledge may not necessarily follow the pattern. Often it is a direct expression of instinct without reason. And to acquire new knowledge may be due to an accidental discovery. The difference between the two sciences in the last 2-3 decades in the international debate, research and artistic creation widely. The essence of the debate is the academic theory and practice of the visual arts as well as an understanding of research in art workshops. Which can be summarized into three main points are as follows (Gray and Malins, 2,004)
1. Performance art research in itself already constitutes a
second. Creative look at comparable research has
three. Performance art has no way to research
Frayling (1993, p 4) states that "research through art is a record attempt. To communicate the results of creative art and reflects the process at every stage. Then analyze, synthesize the knowledge that can be disseminated to understand it would be useful to extend the rules and traditions of research in the arts, "so in art education, whether any degree of education or producer must be able to explain the matter. The theory of art. A theory that people in the art world recognition. This will lead to seeking together to push for the creation of jobs. Art is acceptable and credible science.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กิกิกิกิกิกิกิกิกิ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: