1. ลักษณะการผลิต เป็นการผลิตเพื่อการยังชีพ ( Self Subficient Economy ) การแปล - 1. ลักษณะการผลิต เป็นการผลิตเพื่อการยังชีพ ( Self Subficient Economy ) อังกฤษ วิธีการพูด

1. ลักษณะการผลิต เป็นการผลิตเพื่อกา

1. ลักษณะการผลิต เป็นการผลิตเพื่อการยังชีพ ( Self Subficient Economy ) กล่าวคือแต่ละครัวเรือนหรือ หมู่บ้านต่างก็ทำการผลิตทางการเกษตรเป็นอาชีพหลัก และอุตสาหกรรมในครัวเรือนเป็นอาชีพรองเพื่อการ บริโภคและการใช้สอย ส่วนที่เหลือเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็จะนำไปแลกเปลี่ยนภายในหมู่บ้านหรือระหว่างหมู่บ้านใกล้เคียงกัน ลักษณะการแลกเปลี่ยนสินค้าต่อสินค้า ( Bater System )
2. การใช้ปัจจัยการผลิต สังคมไทย เป็นสังคมเกษตรกรรม ปัจจัยการผลิต โดยเฉพาะที่ดินและแรงงานจึงมี ความสำคัญยิ่ง
2.1 การใช้ที่ดิน ที่ดินเป็นปัจจัยการผลิตประเภทหนึ่งที่มีอยู่อย่างเหลือเฟือในขณะนั้นแต่กรรมสิทธิเด็ดขาดเป็นของพระมหากษัตริย์เด็ดขาดเป็นของพระมหากษัตริย์แต่พระองค์เดียว
2.2 การใช้แรงงาน ก่อนสัญญาเบาว์ริ่งประชาชนอยู่ในระบบไพร่จะต้องสังกัดมูลนาย จึงต้องมีพันธะ การถูกเกณฑ์แรงงานหรือเข้าเวรทำงานให้แก่ทางการตามระยะเวลา
3. การค้าขาย พิจารณาจากการค้าภายในประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ
3.1 การค้าภายในประเทศ มีลักษณะเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าต่อสินค้าในท้องถิ่นใกล้ ๆ กัน ส่วนการค้าที่อยู่ห่างไกลออกไปกระทำได้ยาก เพราะการคมนาคมไม่สะดวก
3.2 การค้าระหว่างประเทศ มีลักษณะเป็นการค้าแบบผูกขาดโดยรัฐบาลมีหน่วยงาน คือ พระคลังสินค้าเป็นตัวกลางระหว่างประชาชนกับชาวต่างประเทศ สินค้าออกที่สำคัญในขณะนั้นเป็นสินค้าที่หาได้ ยาก เช่น งาช้าง นอแรด พริกไทย น้ำตาล กฤษณา เป็นต้น ส่วนสินค้าเข้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย เช่น ผ้าไหม ถ้วยกระเบื้องเคลือบเนื้อละเอียด ชาจีน เป็นต้น ประเทศคู่ค้าส่วนใหญ่อยู่ในเอเชียที่สำคัญได้แก่ ประเทศจีน และประเทศเมืองขึ้นต่าง ๆ ของอังกฤษ ( มลายู ,ชวา ) ต่อมาจึงมีการค้ากับประเทศตะวันตกเพิ่มขึ้น
4.บทบาทของรัฐบาล รัฐบาลมีบทบาทช่วยเหลือเกษตรกรน้อยมาก นอกจากเป็นผู้ถ่ายเทส่วนเกิน ( Surplus Value ) มาจากประชาชน โดยการเก็บภาษีนานาชนิด ระบบเศรษฐกิจไทยก่อนสัญญาเบาว์ริ่งลักษณะการ ผลิตเป็นการผลิตเพื่อการยังชีพ ปัจจัยการผลิตโดยเฉพาะที่ดินตกอยู่กับระบบศักดินา และมีการติดต่อการค้ากับต่างประเทศบ้างในเชิงการสร้างสัมพันธ์ไมตรี

เศรษฐกิจไทยภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง
สมัยรัชกาลที่ 4 ได้ทำสัญญากับประเทศอังกฤษที่เรียกว่า สัญญาเบาว์ริ่ง (พ.ศ. 2398 ) ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ระบบเศรษฐกิจไทย ดังนี้
1. ลักษณะการผลิต ระบบเศรษฐกิจไทยเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้
1.1 การผลิตทางการเกษตร เป็นการผลิตเพื่อการค้าแทนการผลิตเพื่อการยังชีพ เนื่องจากข้าวเป็นสินค้า ที่ต่างประเทศต้องการสูง และรัฐบาลไทยได้อนุญาตให้มีการส่งออกได้โดยเสรี
1.2 อุตสาหกรรม มีการนำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภคจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราภาษีนำเข้ากำหนดไว้ตายตัวไม่เกินร้อยละ สาม และมีผลทำให้เกิดการเสื่อมโทรมของอุตสาหกรรมพื้นบ้าน อย่างรวดเร็ว อันได้แก่ การทอผ้าและการทำน้ำตาลและตีเหล็ก เป็นต้น
2. การใช้ปัจจัยการผลิต
2.1 ที่ดิน ที่ดินได้เป็นปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูง ขึ้น เนื่องจากราคาข้าวเป็นสิ่ง จูงใจให้มีการผลิตข้าวมากขึ้น
2.2 แรงงาน เนื่องจากการเพิ่มของประชากร และการลดความเข้มงวดของระบบการเข้าเวรทำงานใน
สมัยรัชกาลที่ 4 ทำให้แรงงานมีอิสระพอที่จะทำให้การเพาะปลูกมากขึ้น
3. การค้าขาย ประเทศตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลทางการค้ามากขึ้น ทำให้การค้าแบบผูกขาดของประเทศไทยโดย
พระคลังสินค้าเปลี่ยนเป็นการค้าแบบเสรี และผูกพันกับระบบเศรษฐกิจโลก การขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศทำให้การค้าภายในประเทศขยายตัวอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการใช้เงินตราแพร่หลายขึ้น
4. บทบาทของรัฐบาล ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองเพิ่มขึ้น ได้มีการสร้างชลประทานสมัยใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังได้สร้างทางรถไฟขึ้น ทำให้มีการขนส่งสินค้าจากแหล่งผลิตของภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาสู่ตลาดได้สะดวกยิ่งขึ้น

สรุปผลของสนธิสัญญาเบาว์ริงต่อเศรษฐกิจไทย
- การเสื่อมโทรมของอุตสาหกรรมพื้นบ้าน
- การผลิตสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดภายนอก การผลิตแบบพึ่งพา
ทุนนิยมพึ่งพา
- การขยายตัวของการค้าภายในและการเกิดเศรษฐกิจเงินตรา
- การพัฒนาด้านเทคนิคการผลิตไม่ก้าวหน้า เพราะขาดฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. characteristics of production as for the living (Self Subficient Economy), that is, an individual or household. Villages, agricultural produce is the main profession and industry in a secondary profession, so household consumption and living. The remainder will be courier exchange within the village or the village. Features of Exchange per item (Bater System).2. the use of production factors. Thailand is a society of social agriculture inputs, especially land and labor are more important.2.1 การใช้ที่ดิน ที่ดินเป็นปัจจัยการผลิตประเภทหนึ่งที่มีอยู่อย่างเหลือเฟือในขณะนั้นแต่กรรมสิทธิเด็ดขาดเป็นของพระมหากษัตริย์เด็ดขาดเป็นของพระมหากษัตริย์แต่พระองค์เดียว2.2 การใช้แรงงาน ก่อนสัญญาเบาว์ริ่งประชาชนอยู่ในระบบไพร่จะต้องสังกัดมูลนาย จึงต้องมีพันธะ การถูกเกณฑ์แรงงานหรือเข้าเวรทำงานให้แก่ทางการตามระยะเวลา3. การค้าขาย พิจารณาจากการค้าภายในประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ3.1 การค้าภายในประเทศ มีลักษณะเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าต่อสินค้าในท้องถิ่นใกล้ ๆ กัน ส่วนการค้าที่อยู่ห่างไกลออกไปกระทำได้ยาก เพราะการคมนาคมไม่สะดวก3.2 international trade. Is there a trade monopoly by the Government agency is the intermediary between the people as to the foreign tourists. Major items in the rare items such as ivory, sugar, chili, Thailand noraet Krishna etc. Best product, mainly luxury goods such as silk, ceramics, tiles, Tea Cup, durable China, etc. Most are in the country, partners in Asia, including China, and the important city of England (Malay, Javanese) origin trade with Western countries increased.4. the role of the Government. The Government has a role in helping the poor farmers. In addition, as a dump surplus (Surplus Value) comes from the people, by the tax. Thailand economy before contract manufacturing production style as for the life. Factors of production, particularly land with the system and contact the sakdina trade with foreign countries for commercial relations created? Economy of Thailand after making the Treaty baoringThe reign of the four contracts with the British contract called baoring (2398 (1855)) is causing the changes. Thailand: economy1. the characteristics of the production economic system Thailand changed. Is as follows:1.1 การผลิตทางการเกษตร เป็นการผลิตเพื่อการค้าแทนการผลิตเพื่อการยังชีพ เนื่องจากข้าวเป็นสินค้า ที่ต่างประเทศต้องการสูง และรัฐบาลไทยได้อนุญาตให้มีการส่งออกได้โดยเสรี1.2 อุตสาหกรรม มีการนำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภคจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราภาษีนำเข้ากำหนดไว้ตายตัวไม่เกินร้อยละ สาม และมีผลทำให้เกิดการเสื่อมโทรมของอุตสาหกรรมพื้นบ้าน อย่างรวดเร็ว อันได้แก่ การทอผ้าและการทำน้ำตาลและตีเหล็ก เป็นต้น2. การใช้ปัจจัยการผลิต2.1 ที่ดิน ที่ดินได้เป็นปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูง ขึ้น เนื่องจากราคาข้าวเป็นสิ่ง จูงใจให้มีการผลิตข้าวมากขึ้น2.2 แรงงาน เนื่องจากการเพิ่มของประชากร และการลดความเข้มงวดของระบบการเข้าเวรทำงานใน สมัยรัชกาลที่ 4 ทำให้แรงงานมีอิสระพอที่จะทำให้การเพาะปลูกมากขึ้น3. การค้าขาย ประเทศตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลทางการค้ามากขึ้น ทำให้การค้าแบบผูกขาดของประเทศไทยโดย พระคลังสินค้าเปลี่ยนเป็นการค้าแบบเสรี และผูกพันกับระบบเศรษฐกิจโลก การขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศทำให้การค้าภายในประเทศขยายตัวอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการใช้เงินตราแพร่หลายขึ้น4. บทบาทของรัฐบาล ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองเพิ่มขึ้น ได้มีการสร้างชลประทานสมัยใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังได้สร้างทางรถไฟขึ้น ทำให้มีการขนส่งสินค้าจากแหล่งผลิตของภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาสู่ตลาดได้สะดวกยิ่งขึ้น
สรุปผลของสนธิสัญญาเบาว์ริงต่อเศรษฐกิจไทย
- การเสื่อมโทรมของอุตสาหกรรมพื้นบ้าน
- การผลิตสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดภายนอก การผลิตแบบพึ่งพา
ทุนนิยมพึ่งพา
- การขยายตัวของการค้าภายในและการเกิดเศรษฐกิจเงินตรา
- การพัฒนาด้านเทคนิคการผลิตไม่ก้าวหน้า เพราะขาดฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1.The production was produced for sustenance (Self Subficient Economy, namely each household. The village is the agricultural production is the main occupation. Industrial and household as a secondary career for consumption and usage.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: