ประเด็นของโลกาภิวัตน์ที่เกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรมนั้น ก็เป็นเรื่องที่มีก การแปล - ประเด็นของโลกาภิวัตน์ที่เกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรมนั้น ก็เป็นเรื่องที่มีก อังกฤษ วิธีการพูด

ประเด็นของโลกาภิวัตน์ที่เกี่ยวกับเร

ประเด็นของโลกาภิวัตน์ที่เกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรมนั้น ก็เป็นเรื่องที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดอีกเรื่องหนึ่ง คือ โลกาภิวัตน์ทำให้เกิดวัฒนธรรมโลกหรือไม่ ซึ่งก็มีนักวิชาการบางคนมีความเห็นว่าเป็นเรื่องของการพัฒนาความเป็นตะวันตก กระบวนการโลกาภิวัตน์นั้นทำให้เกิดความคล้ายคลึงและความกลมกลืนทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นวัฒนธรรมจากโลกตะวันตกแพร่ไปสู่ประเทศโลกที่สามหรือประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลาย
แนวคิดที่สนับสนุนแนวคิดข้างต้นที่สำคัญก็คือ แนวคิดเรื่อง การครอบงำทางวัฒนธรรมของวัฒนธรรมโลก(ตะวันตก) ซึ่งแนวคิดนี้ชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของการแพร่กระจายสินค้า พฤติกรรม รสนิยม การปฏิบัติ และความคิดความเชื่อเรื่องต่างๆ จากสังคมตะวันตกสู่สังคมอื่นๆจึงทำให้เกิดความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรมมากขึ้นทุกขณะ เช่น ยี่ห้อของสินค้าบางชนิดที่ทั่วโลกรู้จัก เช่น KFC Mc donalds CNN MTV และภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด รวมถึงความเชื่อเรื่อง เสรีภาพประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ซึ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงแนวคิดตะวันตกหลายอย่างได้รับการยอมรับและแพร่หลายไปทั่วโลก และมีบทบาทและความสำคัญต่อสังคมโลกจนยากที่จะปฏิเสธได้
อย่างไรก็ตามแนวคิดเรื่องการครอบงำทางวัฒนธรรม(โดยตะวันตก) ก็ยังถูกปฏิเสธจากนักสังคมศาสตร์อีกหลายคน โดยมีข้อโต้แย้งดังต่อไปนี้
ประการแรกคือนักวิชาการหลายคนไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดและคำอธิบายที่ว่า อิทธิพลสื่อตะวันตกและแบบแผนบริโภคนิยมจะนำไปสู่ความคล้ายคลึงกัน ก็คือแม้ว่าผู้คนในที่ต่างๆแม้จะได้รับสื่อต่างๆที่เหมือนกัน แต่ผู้คนเหล่านั้นก็ไม่ได้คิดแต่จะลอกเลียนหยิบยืม หรือและรับเอาวัฒนธรรมบริโภคจากตะวันตกมาเป็นของตัวเองแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่เมื่อรับเอาสิ่งเหล่านี้มาแล้วมักจะถูกดัดแปลงปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับชีวิต ความเหมาะสมและความสอดคล้องกับค่านิยมความเชื่อและบรรทัดฐานของท้องถิ่น ซึ่งการดัดแปลงปรับเปลี่ยนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมกันไปกับกับกระบวนการโลกาภิวัตน์ที่ทวีความเข้มข้นมากขึ้น ผลลัพธ์คือ ความหลากหลายของวัฒนธรรมถิ่นมากกว่าจะเกิดความคล้ายคลึงกัน
ประการที่สองคือ พัฒนาการของกระบวนการโลกาภิวัตน์ไม่ได้หมายถึงว่าจะทำให้สำนึกและอัตลักษณ์ความเป็นชาติจะกลายเป็นเรื่องไม่สำคัญ แม้ว่าผลกระทบของโลกาภิวัตน์จะทำให้อำนาจและบทบาทของของรัฐ-ชาติ น้อยลงไปก็ตาม ตรงกันข้ามโลกาภิวัตน์ดุกลับจะมีส่วนช่วยเสริมสร้าง และตอกย้ำสำนึกวัฒนธรรมเฉพาะความเป็นชาติพันธุ์และความเป็นชาติมากกว่าการจะสร้างวัฒนธรรมโลก ก็คือ ระบบการสื่อสารใหม่ๆ การปลุกเร้าและการสร้างประเด็นทางวัฒนธรรมให้เป็นการเมือง บทบาทของปัญญาชน และสงครามวัฒนธรรมที่ทวีความเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ ล้วนแล้วแต่สร้างให้เกิดความรู้สึกผูกพันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม หรือชุมชนหนึ่งๆมีความแน่นแฟ้นมากขึ้น และยังช่วยยกระดับความรู้สึกเปรียบเทียบชิงดีชิงเด่น กับคนในประเทศและกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆให้สูงขึ้นอีกด้วย
ประการที่สาม เป็นข้อโต้แย้งมุมมองที่ถือว่าโลกาภิวัตน์ หมายถึงการไหลบ่าของวัฒนธรรมจากสังคมตะวันตกไปสู่ประเทศอื่นๆเท่านั้น เพราะที่จริงแล้วกระแสวัฒนธรรมนั้นมีการไหลเวียนไปมาทั้งสองข้าง ซึ่งเราจะสามมารถสังเกตเห็นได้ทั่วไป เช่น อาหารจีน อาหารอินเดีย อาหารเกาหลี และอาหารไทย ได้กลายเป็นวัฒนธรรมอาหารปกติในสังคมตะวันตกไปแล้ว ศาสนาที่มีอิทธิพลต่อผู้คนทั่วโลกมากขึ้นทุกขณะก็ไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะศาสนาคริตส์ แต่รวมถึงศาสนาพุทธและอิสลามด้วย หรือแม้แต่เรื่องของผู้คนจากประเทศโลกที่สามที่อพยพไปยังประเทศโลกที่หนึ่ง โดยที่คนเหล่านั้นยังรักษาวัฒนธรรมเดิมของตนไว้อยู่ ทำให้วิถีชีวิตและวัฒนธรรมและสังคมจากผู้คนประเทศโลกที่สามได้เข้าไปอยู่ในใจกลางสังคมตะวันตกเลยที่เดียว
ประการที่สี่ ความเข้าใจที่ว่าสังคมตะวันตกเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม ครอบงำโลกและผูกขาดการแพร่กระจายความคิด วัฒนธรรม ตลอดจนสินค้าและข้าวของเครื่องใช้ต่างๆไปยังประเทศบริวารนั้น มักจะเป็นเรื่องที่คิดกันไปเองมากกว่าจะตั้งอยู่บนพื้นฐานการศึกษาอย่างจริงจัง และแนวคิดเรื่องการครอบงำของวัฒนธรรม(ตะวันตก) มองข้ามเครือข่ายสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงประเทศโลกที่สามเข้าด้วยกัน และเครือข่ายนี้อาจจะมีความสำคัญและมีอิทธิพล ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนในถิ่นหนึ่งๆมากกว่าอิทธิพลของประเทศตะวันตกด้วยซ้ำ เช่น เงินทุนที่ไหลบ่าไปลงทุนในจีนไม่ได้มาจากประเทศตะวันตก แต่มาจากไต้หวัน ฮ่องกงและในเอเชียอาคเนย์ ในชุมชนเอเชียบางแห่งสินค้าที่นิยมกัน เช่น เสื้อผ้า เครื่องสำอางไม่ได้มาจากตะวันตกแต่เป็นของที่มาจากจีน และอิทธิพลและการไหลเวียนของวัฒนธรรม ในหมู่ประเทศโลกที่สามด้วยกัน ในบางกรณีทำให้ประเทศบางประเทศวิตกกังวลใจต่ออิทธิพลของประเทศโลกที่สามด้วยกันมากกว่าการครอบงำของวัฒนธรรมจากตะวันตกซะอีก
สรุป
กระแสการไหลเวียนของวัฒนธรรมอาจไหลเวียนไปในหลายทิศทางพร้อมๆกันก็ได้ โดยไม่จำเป็นต้องไหลไปตามทิศทางที่กำหนดหรือควบคุมด้วยความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง
แต่ก็ไม่ได้ปฏิเสธว่าวัฒนธรรมโลกไม่มีอยู่ แต่หมายถึง การยอมรับความหลากหลายของวัฒนธรรมมากกว่าจะเป็นโลกของการลอกเลียนแบบและเอาอย่างวัฒนธรรมใดเพียงหนึ่งเดียว อิทธิพลและอำนาจของวัฒนธรรมตะวันตกยังคงมีอยู่ แต่อิทธิพลและอำนาจดังกล่าวไม่ได้เป็นกระแสเดียวที่มีความสำคัญ ดังนั้นกระบวนการโลกาภิวัตน์ (วัฒนธรรม) จึงไม่ใช่เป็นแค่เรื่องของการขยายอิทธิพลตะวันตก หรือกะบวนการสร้างวัฒนธรรมโลกที่คล้ายคลึงกันขึ้นมา แต่เป็นเรื่องของการเชื่อมโยงโลกที่หลากหลายไขว้เกี่ยวและขัดแย้งกันอยู่อย่างซับซ้อนมากกว่า
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The issue of globalization, cultural issues, it is a matter that has been the most glaring one is another globalization produces cultural world, which some scholars have noted that it is a matter of developing the West. The globalization process causes the resemblance and cultural harmony, which is the culture of the Western world, spread to a third world country, or of many developing countries. The concepts that support the above concept, it is important that the concept. The cultural dominance of world culture (in the West) where this concept indicates the influence of behavioral items spread tastes and ideas of faith from other Western societies; society resulted in a more culturally similar, every moment, such as North America, Europe.Gallop of some items that are known worldwide, such as Mc donalds and KFC MTV Hollywood movies including CNN faith story. Freedom, democracy and human rights, which they showed to many Western concepts are accepted and widespread throughout the world and has a social importance and role in the world is hard to deny. However, the concept of cultural dominance (by the West), it has also been rejected by many other social sciences students. With the dispute as follows: First, there are many scholars who disagree with the concept and description of the Western media and influences that the consumerism will lead to a similar. It is, though, people in various places even to get the same media, but those people were not thinking but will borrow or grab the infringement, and obtaining the consumer culture of the West itself, but alone. But when you get these things removed, and is often adapted to modify in accordance with life. Appropriate and consistent with the values, beliefs and norms of local adapted this modification will occur simultaneously with the process of globalization, which had significant concentration increases. The result is a variety of local culture rather than the similarities. The second is the development of the process of globalization does not mean that it makes sense and is the national identity has become a vital no matter. Although the effects of globalization are making power and role of the State-nation, the less the contrary globalization duk is help strengthen and emphasize the realization of specific cultural and ethnic nation, rather than to create a world culture is a new communication system. To mobilize and create a cultural issue into a political. The role of panyachon and the war had significant cultural concentration even more pure, but it creates a sense of community among members of a particular group or more Luge and also help enhance the feel good compared with the prominent Qing Qing in the country and belonged to rise again. Third, it disputes the view that globalization implies cultural influx from Western societies; to other countries only. Because of the fact that culture laeokrasae the flow back and forth on both sides. We will have noticed three common holders such as Chinese cuisine. India cuisine Korea food & Thai cuisine has become a regular food culture in the Western societies; Religion influencing more people around the world all the time, it is not limited to religion, but khrit, including Buddhism and Islam, or even a matter of people from third world countries migrated to one of the world's countries. Without those people still maintain their original living culture. Make lifestyle and culture and society from a third world country, people have to live in the heart of Western societies; but one. Four reasons to understand that Western culture-centred societies; World dominance and monopoly to spread the idea of culture as well as the various outfit items and to the country that it's often the theme parks thinks to himself, rather than on the basis of serious study and the concept of cultural dominance (West) overlook the network in relation to the third world countries that are linked together and this network might be important and influence. The lives of the people in a particular area, rather than the influence of these Western countries, such as capital investment in runoff in China did not come from Western countries, but from Taiwan, Hong Kong and South East Asia. In some Asian communities, such as popular items of clothing. Cosmetics do not come from the West, but it's coming from China and the influence and circulation of culture. Among the countries of the third world as well. In some cases, the cause of some countries are concerned the country's influence in the third world continue together than mergers of cultures from the West also.Summary Flow flow flow in many cultures may go the direction, at the same time. Without the need to flow along a given direction or control by the political and economic relations.But he did not deny that the culture of the world no longer exists, but it means the acceptance of cultural diversity, rather than a world of imitators and emulate one of culture. The influence and power of the Western cultural influence and power still exists but it is no longer a single flow that is important so that the process of globalization (cultural), it is not simply a matter of expanding Western influence in the new global cultural process shifts or similar problems, but as a matter of linking diverse and cross world conflict is more complex.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเด็นของโลกาภิวัตน์ที่เกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรมนั้น ก็เป็นเรื่องที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดอีกเรื่องหนึ่ง คือ โลกาภิวัตน์ทำให้เกิดวัฒนธรรมโลกหรือไม่ ซึ่งก็มีนักวิชาการบางคนมีความเห็นว่าเป็นเรื่องของการพัฒนาความเป็นตะวันตก กระบวนการโลกาภิวัตน์นั้นทำให้เกิดความคล้ายคลึงและความกลมกลืนทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นวัฒนธรรมจากโลกตะวันตกแพร่ไปสู่ประเทศโลกที่สามหรือประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลาย
แนวคิดที่สนับสนุนแนวคิดข้างต้นที่สำคัญก็คือ แนวคิดเรื่อง การครอบงำทางวัฒนธรรมของวัฒนธรรมโลก(ตะวันตก) ซึ่งแนวคิดนี้ชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของการแพร่กระจายสินค้า พฤติกรรม รสนิยม การปฏิบัติ และความคิดความเชื่อเรื่องต่างๆ จากสังคมตะวันตกสู่สังคมอื่นๆจึงทำให้เกิดความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรมมากขึ้นทุกขณะ เช่น ยี่ห้อของสินค้าบางชนิดที่ทั่วโลกรู้จัก เช่น KFC Mc donalds CNN MTV และภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด รวมถึงความเชื่อเรื่อง เสรีภาพประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ซึ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงแนวคิดตะวันตกหลายอย่างได้รับการยอมรับและแพร่หลายไปทั่วโลก และมีบทบาทและความสำคัญต่อสังคมโลกจนยากที่จะปฏิเสธได้
อย่างไรก็ตามแนวคิดเรื่องการครอบงำทางวัฒนธรรม(โดยตะวันตก) ก็ยังถูกปฏิเสธจากนักสังคมศาสตร์อีกหลายคน โดยมีข้อโต้แย้งดังต่อไปนี้
ประการแรกคือนักวิชาการหลายคนไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดและคำอธิบายที่ว่า อิทธิพลสื่อตะวันตกและแบบแผนบริโภคนิยมจะนำไปสู่ความคล้ายคลึงกัน ก็คือแม้ว่าผู้คนในที่ต่างๆแม้จะได้รับสื่อต่างๆที่เหมือนกัน แต่ผู้คนเหล่านั้นก็ไม่ได้คิดแต่จะลอกเลียนหยิบยืม หรือและรับเอาวัฒนธรรมบริโภคจากตะวันตกมาเป็นของตัวเองแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่เมื่อรับเอาสิ่งเหล่านี้มาแล้วมักจะถูกดัดแปลงปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับชีวิต ความเหมาะสมและความสอดคล้องกับค่านิยมความเชื่อและบรรทัดฐานของท้องถิ่น ซึ่งการดัดแปลงปรับเปลี่ยนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมกันไปกับกับกระบวนการโลกาภิวัตน์ที่ทวีความเข้มข้นมากขึ้น ผลลัพธ์คือ ความหลากหลายของวัฒนธรรมถิ่นมากกว่าจะเกิดความคล้ายคลึงกัน
ประการที่สองคือ พัฒนาการของกระบวนการโลกาภิวัตน์ไม่ได้หมายถึงว่าจะทำให้สำนึกและอัตลักษณ์ความเป็นชาติจะกลายเป็นเรื่องไม่สำคัญ แม้ว่าผลกระทบของโลกาภิวัตน์จะทำให้อำนาจและบทบาทของของรัฐ-ชาติ น้อยลงไปก็ตาม ตรงกันข้ามโลกาภิวัตน์ดุกลับจะมีส่วนช่วยเสริมสร้าง และตอกย้ำสำนึกวัฒนธรรมเฉพาะความเป็นชาติพันธุ์และความเป็นชาติมากกว่าการจะสร้างวัฒนธรรมโลก ก็คือ ระบบการสื่อสารใหม่ๆ การปลุกเร้าและการสร้างประเด็นทางวัฒนธรรมให้เป็นการเมือง บทบาทของปัญญาชน และสงครามวัฒนธรรมที่ทวีความเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ ล้วนแล้วแต่สร้างให้เกิดความรู้สึกผูกพันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม หรือชุมชนหนึ่งๆมีความแน่นแฟ้นมากขึ้น และยังช่วยยกระดับความรู้สึกเปรียบเทียบชิงดีชิงเด่น กับคนในประเทศและกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆให้สูงขึ้นอีกด้วย
ประการที่สาม เป็นข้อโต้แย้งมุมมองที่ถือว่าโลกาภิวัตน์ หมายถึงการไหลบ่าของวัฒนธรรมจากสังคมตะวันตกไปสู่ประเทศอื่นๆเท่านั้น เพราะที่จริงแล้วกระแสวัฒนธรรมนั้นมีการไหลเวียนไปมาทั้งสองข้าง ซึ่งเราจะสามมารถสังเกตเห็นได้ทั่วไป เช่น อาหารจีน อาหารอินเดีย อาหารเกาหลี และอาหารไทย ได้กลายเป็นวัฒนธรรมอาหารปกติในสังคมตะวันตกไปแล้ว ศาสนาที่มีอิทธิพลต่อผู้คนทั่วโลกมากขึ้นทุกขณะก็ไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะศาสนาคริตส์ แต่รวมถึงศาสนาพุทธและอิสลามด้วย หรือแม้แต่เรื่องของผู้คนจากประเทศโลกที่สามที่อพยพไปยังประเทศโลกที่หนึ่ง โดยที่คนเหล่านั้นยังรักษาวัฒนธรรมเดิมของตนไว้อยู่ ทำให้วิถีชีวิตและวัฒนธรรมและสังคมจากผู้คนประเทศโลกที่สามได้เข้าไปอยู่ในใจกลางสังคมตะวันตกเลยที่เดียว
ประการที่สี่ ความเข้าใจที่ว่าสังคมตะวันตกเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม ครอบงำโลกและผูกขาดการแพร่กระจายความคิด วัฒนธรรม ตลอดจนสินค้าและข้าวของเครื่องใช้ต่างๆไปยังประเทศบริวารนั้น มักจะเป็นเรื่องที่คิดกันไปเองมากกว่าจะตั้งอยู่บนพื้นฐานการศึกษาอย่างจริงจัง และแนวคิดเรื่องการครอบงำของวัฒนธรรม(ตะวันตก) มองข้ามเครือข่ายสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงประเทศโลกที่สามเข้าด้วยกัน และเครือข่ายนี้อาจจะมีความสำคัญและมีอิทธิพล ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนในถิ่นหนึ่งๆมากกว่าอิทธิพลของประเทศตะวันตกด้วยซ้ำ เช่น เงินทุนที่ไหลบ่าไปลงทุนในจีนไม่ได้มาจากประเทศตะวันตก แต่มาจากไต้หวัน ฮ่องกงและในเอเชียอาคเนย์ ในชุมชนเอเชียบางแห่งสินค้าที่นิยมกัน เช่น เสื้อผ้า เครื่องสำอางไม่ได้มาจากตะวันตกแต่เป็นของที่มาจากจีน และอิทธิพลและการไหลเวียนของวัฒนธรรม ในหมู่ประเทศโลกที่สามด้วยกัน ในบางกรณีทำให้ประเทศบางประเทศวิตกกังวลใจต่ออิทธิพลของประเทศโลกที่สามด้วยกันมากกว่าการครอบงำของวัฒนธรรมจากตะวันตกซะอีก
สรุป
กระแสการไหลเวียนของวัฒนธรรมอาจไหลเวียนไปในหลายทิศทางพร้อมๆกันก็ได้ โดยไม่จำเป็นต้องไหลไปตามทิศทางที่กำหนดหรือควบคุมด้วยความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง
แต่ก็ไม่ได้ปฏิเสธว่าวัฒนธรรมโลกไม่มีอยู่ แต่หมายถึง การยอมรับความหลากหลายของวัฒนธรรมมากกว่าจะเป็นโลกของการลอกเลียนแบบและเอาอย่างวัฒนธรรมใดเพียงหนึ่งเดียว อิทธิพลและอำนาจของวัฒนธรรมตะวันตกยังคงมีอยู่ แต่อิทธิพลและอำนาจดังกล่าวไม่ได้เป็นกระแสเดียวที่มีความสำคัญ ดังนั้นกระบวนการโลกาภิวัตน์ (วัฒนธรรม) จึงไม่ใช่เป็นแค่เรื่องของการขยายอิทธิพลตะวันตก หรือกะบวนการสร้างวัฒนธรรมโลกที่คล้ายคลึงกันขึ้นมา แต่เป็นเรื่องของการเชื่อมโยงโลกที่หลากหลายไขว้เกี่ยวและขัดแย้งกันอยู่อย่างซับซ้อนมากกว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The issues of globalization of culture. It is the most controversial one is globalization caused much? รมโล culture businessThe process of globalization, it caused the similarities and cultural harmony The culture of the western world spread to third world countries or developing countries all
.The concept that supports the above concepts, the important thing is that the concept of cultural dominance of culture รมโล (West). This approach shows the influence of product diffusion behavior, tastes, practice.From the western society to the society has created a cultural similarities to other more, such as the brand of some products all over the world. Such as KFC Mc Donalds CNN MTV and Hollywood films, including beliefs.Which of these shows the West many accepted and spread all over the world. The role and significance to the society and the world that it's hard to deny
.However, the concept of cultural dominance (the West). It was rejected by the social worker for many people. The arguments following
.The first is that many scholars disagree with the concept and the explanation that Influence of Western media and the pattern of consumerism leads to similar. Is that although the people in various media, it has been common.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: