ความสัมพันธ์อาเซียน – จีน (AESAN-China)ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนเริ่มขึ้ การแปล - ความสัมพันธ์อาเซียน – จีน (AESAN-China)ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนเริ่มขึ้ อังกฤษ วิธีการพูด

ความสัมพันธ์อาเซียน – จีน (AESAN-Ch

ความสัมพันธ์อาเซียน – จีน (AESAN-China)
ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนเริ่มขึ้นเมื่อปี 2534 (ค.ศ. 1991) โดยในปี 2549 (ค.ศ. 2006) ได้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน สมัยพิเศษ ที่นครหนานหนิง เพื่อฉลองการครบรอบ 15 ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ฯ โดยผู้นำอาเซียนและจีนได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน สมัยพิเศษ ซึ่งกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนสำหรับ 15 ปีข้างหน้า จีนเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ในปี 2546 และยังเป็นประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรกที่แสดงความพร้อมที่จะลงนามในพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Protocol to the Treaty of Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone) นอกจากนี้ จีนยังเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่เสนอให้มีการทำความตกลงการค้าเสรีกับอาเซียน โดยทั้งสองฝ่ายได้ลงนามใน ASEAN-China Framework Agreement on Economic Cooperation เมื่อปี 2545 วางเป้าหมายให้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนกับประเทศสมาชิกอาเซียนเก่า (6 ประเทศ) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010) และกับประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ (CLMV) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าได้มีลงนามไปเมื่อปี 2547 และความ ตกลงด้านการค้าบริการได้ลงนามไปเมื่อเดือน ม.ค. 2550 การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนที่มีประชากรรวมกัน 1.85 ล้านคน จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนระหว่างกัน นอกจากนี้ ยังทำให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีพลวัตและเป็นที่น่าสนใจเข้ามาทำการค้าและการลงทุนโดยประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาค ในปี 2550 การค้าระหว่างอาเซียนและจีนมีมูลค่าประมาณ 2.02 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 25.9% จากปี2549 ซึ่งมีมูลค่า 1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งบรรลุเป้าหมายที่อาเซียนและจีน ตั้งไว้ คือ 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2548 โดยในปี 2550 อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับที่ 4 ของจีน รองจาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น และเป็นตลาดส่งออกอันดับ 5 ของจีน รองจาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และญี่ปุ่น นอกจากนี้ จีนยังเป็นแหล่งลงทุนที่สำคัญของอาเซียน โดยในปี 2548 มีมูลค่าการลงทุนเป็นจำนวนเงิน 3.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่การลงทุนของจีนในอาเซียนยังคงอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับมูลค่าการลงทุนของอาเซียนในจีน อาเซียนจึงพยายามสนับสนุนให้จีนเพิ่มการลงทุนในภูมิภาค ให้มากขึ้นอาเซียนและจีนได้กำหนดให้มีความร่วมมือกันใน 10 สาขาหลักได้แก่ เกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลงทุน การพัฒนาลุ่มน้ำโขง การคมนาคมขนส่ง พลังงาน วัฒนธรรม สาธารณสุข และการท่องเที่ยว ซึ่งมีส่วนสำคัญในการช่วยลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 11 เมื่อเดือน พ.ย. 2550 ณ สิงคโปร์ ที่ประชุมเห็นพ้องให้บรรจุความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสาขาที่ 11 ของความร่วมมือสาขาหลักด้านการพัฒนาด้วย อาเซียนและจีนกำลังอยู่ในระหว่างการเจรจาจัดทำบันทึกความเข้าใจ 3 ฉบับ ได้แก่ (1) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์อาเซียน-จีน ที่กรุงปักกิ่ง (2) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา และ (3)บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านสารสนเทศและสื่อสารมวลชน นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายกำลังเร่งสรุปผลการเจรจาการจัดทำความตกลงด้านการลงทุนในด้านคมนาคม ไทยได้เริ่มโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงที่เชื่อมระหว่าง อ. เชียงของ จ. เชียงราย กับบ้านห้วยทรายของลาวแล้ว ซึ่งจะเป็นการเชื่อมเส้นทางคมนาคทางบกสู่จีนตอนใต้ ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่างการออกแบบก่อสร้าง คาดว่า จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 และมีกำหนดแล้วเสร็จในปี 2554 การเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมระหว่างอาเซียนกับจีนตอนใต้นั้น ไทยจะได้รับประโยชน์โดยตรงในการพัฒนาให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการค้าและการลงทุนที่จะเพิ่มขึ้นตามเส้นทางคมนาคมระหว่างอาเซียน-จีนตอนใต้ได้ จีนมีนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง โดยเฉพาะภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นเขตติดต่อกับอาเซียน เพื่อลดความเลื่อมล้ำของการพัฒนาที่อาจส่งผลในเชิงลบต่อเสถียรภาพและความมั่นคงภายในประเทศ จีนหวังที่จะเพิ่มพูนความสัมพันธ์กับอาเซียนในทุกๆ ด้าน โดย ยึดหลักการเป็นเพื่อนบ้านที่ดีระหว่างกัน (good neighbourly relations) เป้าหมายของจีนจึงสอดคล้องกับอาเซียนที่ต้องการมีความสัมพันธ์แบบหุ้นส่วนกับมหาอำนาจในภูมิภาค เพื่อเป็นหลักประกันสำหรับเสถียรภาพและความมั่นคงภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The ASEAN relationship – China (AESAN-China)ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนเริ่มขึ้นเมื่อปี 2534 (ค.ศ. 1991) โดยในปี 2549 (ค.ศ. 2006) ได้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน สมัยพิเศษ ที่นครหนานหนิง เพื่อฉลองการครบรอบ 15 ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ฯ โดยผู้นำอาเซียนและจีนได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน สมัยพิเศษ ซึ่งกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนสำหรับ 15 ปีข้างหน้า จีนเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ในปี 2546 และยังเป็นประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรกที่แสดงความพร้อมที่จะลงนามในพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Protocol to the Treaty of Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone) นอกจากนี้ จีนยังเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่เสนอให้มีการทำความตกลงการค้าเสรีกับอาเซียน โดยทั้งสองฝ่ายได้ลงนามใน ASEAN-China Framework Agreement on Economic Cooperation เมื่อปี 2545 วางเป้าหมายให้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนกับประเทศสมาชิกอาเซียนเก่า (6 ประเทศ) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010) และกับประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ (CLMV) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าได้มีลงนามไปเมื่อปี 2547 และความ ตกลงด้านการค้าบริการได้ลงนามไปเมื่อเดือน ม.ค. 2550 การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนที่มีประชากรรวมกัน 1.85 ล้านคน จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนระหว่างกัน นอกจากนี้ ยังทำให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีพลวัตและเป็นที่น่าสนใจเข้ามาทำการค้าและการลงทุนโดยประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาค ในปี 2550 การค้าระหว่างอาเซียนและจีนมีมูลค่าประมาณ 2.02 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 25.9% จากปี2549 ซึ่งมีมูลค่า 1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งบรรลุเป้าหมายที่อาเซียนและจีน ตั้งไว้ คือ 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2548 โดยในปี 2550 อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับที่ 4 ของจีน รองจาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น และเป็นตลาดส่งออกอันดับ 5 ของจีน รองจาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และญี่ปุ่น นอกจากนี้ จีนยังเป็นแหล่งลงทุนที่สำคัญของอาเซียน โดยในปี 2548 มีมูลค่าการลงทุนเป็นจำนวนเงิน 3.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่การลงทุนของจีนในอาเซียนยังคงอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับมูลค่าการลงทุนของอาเซียนในจีน อาเซียนจึงพยายามสนับสนุนให้จีนเพิ่มการลงทุนในภูมิภาค ให้มากขึ้นอาเซียนและจีนได้กำหนดให้มีความร่วมมือกันใน 10 สาขาหลักได้แก่ เกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลงทุน การพัฒนาลุ่มน้ำโขง การคมนาคมขนส่ง พลังงาน วัฒนธรรม สาธารณสุข และการท่องเที่ยว ซึ่งมีส่วนสำคัญในการช่วยลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 11 เมื่อเดือน พ.ย. 2550 ณ สิงคโปร์ ที่ประชุมเห็นพ้องให้บรรจุความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสาขาที่ 11 ของความร่วมมือสาขาหลักด้านการพัฒนาด้วย อาเซียนและจีนกำลังอยู่ในระหว่างการเจรจาจัดทำบันทึกความเข้าใจ 3 ฉบับ ได้แก่ (1) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์อาเซียน-จีน ที่กรุงปักกิ่ง (2) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา และ (3)บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านสารสนเทศและสื่อสารมวลชน นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายกำลังเร่งสรุปผลการเจรจาการจัดทำความตกลงด้านการลงทุนในด้านคมนาคม ไทยได้เริ่มโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงที่เชื่อมระหว่าง อ. เชียงของ จ. เชียงราย กับบ้านห้วยทรายของลาวแล้ว ซึ่งจะเป็นการเชื่อมเส้นทางคมนาคทางบกสู่จีนตอนใต้ ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่างการออกแบบก่อสร้าง คาดว่า จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 และมีกำหนดแล้วเสร็จในปี 2554 การเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมระหว่างอาเซียนกับจีนตอนใต้นั้น ไทยจะได้รับประโยชน์โดยตรงในการพัฒนาให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการค้าและการลงทุนที่จะเพิ่มขึ้นตามเส้นทางคมนาคมระหว่างอาเซียน-จีนตอนใต้ได้ จีนมีนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง โดยเฉพาะภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นเขตติดต่อกับอาเซียน เพื่อลดความเลื่อมล้ำของการพัฒนาที่อาจส่งผลในเชิงลบต่อเสถียรภาพและความมั่นคงภายในประเทศ จีนหวังที่จะเพิ่มพูนความสัมพันธ์กับอาเซียนในทุกๆ ด้าน โดย ยึดหลักการเป็นเพื่อนบ้านที่ดีระหว่างกัน (good neighbourly relations) เป้าหมายของจีนจึงสอดคล้องกับอาเซียนที่ต้องการมีความสัมพันธ์แบบหุ้นส่วนกับมหาอำนาจในภูมิภาค เพื่อเป็นหลักประกันสำหรับเสถียรภาพและความมั่นคงภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์อาเซียน – จีน (AESAN-China)
ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนเริ่มขึ้นเมื่อปี 2534 (ค.ศ. 1991) โดยในปี 2549 (ค.ศ. 2006) ได้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน สมัยพิเศษ ที่นครหนานหนิง เพื่อฉลองการครบรอบ 15 ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ฯ โดยผู้นำอาเซียนและจีนได้ลงนามในแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน สมัยพิเศษ ซึ่งกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนสำหรับ 15 ปีข้างหน้า จีนเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ในปี 2546 และยังเป็นประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรกที่แสดงความพร้อมที่จะลงนามในพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Protocol to the Treaty of Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone) นอกจากนี้ จีนยังเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่เสนอให้มีการทำความตกลงการค้าเสรีกับอาเซียน โดยทั้งสองฝ่ายได้ลงนามใน ASEAN-China Framework Agreement on Economic Cooperation เมื่อปี 2545 วางเป้าหมายให้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนกับประเทศสมาชิกอาเซียนเก่า (6 ประเทศ) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010) และกับประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ (CLMV) ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าได้มีลงนามไปเมื่อปี 2547 และความ ตกลงด้านการค้าบริการได้ลงนามไปเมื่อเดือน ม.ค. 2550 การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนที่มีประชากรรวมกัน 1.85 ล้านคน จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนระหว่างกัน นอกจากนี้ ยังทำให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีพลวัตและเป็นที่น่าสนใจเข้ามาทำการค้าและการลงทุนโดยประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาค ในปี 2550 การค้าระหว่างอาเซียนและจีนมีมูลค่าประมาณ 2.02 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 25.9% จากปี2549 ซึ่งมีมูลค่า 1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งบรรลุเป้าหมายที่อาเซียนและจีน ตั้งไว้ คือ 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2548 โดยในปี 2550 อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับที่ 4 ของจีน รองจาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น และเป็นตลาดส่งออกอันดับ 5 ของจีน รองจาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และญี่ปุ่น นอกจากนี้ จีนยังเป็นแหล่งลงทุนที่สำคัญของอาเซียน โดยในปี 2548 มีมูลค่าการลงทุนเป็นจำนวนเงิน 3.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่การลงทุนของจีนในอาเซียนยังคงอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับมูลค่าการลงทุนของอาเซียนในจีน อาเซียนจึงพยายามสนับสนุนให้จีนเพิ่มการลงทุนในภูมิภาค ให้มากขึ้นอาเซียนและจีนได้กำหนดให้มีความร่วมมือกันใน 10 สาขาหลักได้แก่ เกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลงทุน การพัฒนาลุ่มน้ำโขง การคมนาคมขนส่ง พลังงาน วัฒนธรรม สาธารณสุข และการท่องเที่ยว ซึ่งมีส่วนสำคัญในการช่วยลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 11 เมื่อเดือน พ.ย. 2550 ณ สิงคโปร์ ที่ประชุมเห็นพ้องให้บรรจุความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสาขาที่ 11 ของความร่วมมือสาขาหลักด้านการพัฒนาด้วย อาเซียนและจีนกำลังอยู่ในระหว่างการเจรจาจัดทำบันทึกความเข้าใจ 3 ฉบับ ได้แก่ (1) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์อาเซียน-จีน ที่กรุงปักกิ่ง (2) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา และ (3)บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านสารสนเทศและสื่อสารมวลชน นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายกำลังเร่งสรุปผลการเจรจาการจัดทำความตกลงด้านการลงทุนในด้านคมนาคม ไทยได้เริ่มโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงที่เชื่อมระหว่าง อ. เชียงของ จ. เชียงราย กับบ้านห้วยทรายของลาวแล้ว ซึ่งจะเป็นการเชื่อมเส้นทางคมนาคทางบกสู่จีนตอนใต้ ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่างการออกแบบก่อสร้าง คาดว่า จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 และมีกำหนดแล้วเสร็จในปี 2554 การเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมระหว่างอาเซียนกับจีนตอนใต้นั้น ไทยจะได้รับประโยชน์โดยตรงในการพัฒนาให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการค้าและการลงทุนที่จะเพิ่มขึ้นตามเส้นทางคมนาคมระหว่างอาเซียน-จีนตอนใต้ได้ จีนมีนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง โดยเฉพาะภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นเขตติดต่อกับอาเซียน เพื่อลดความเลื่อมล้ำของการพัฒนาที่อาจส่งผลในเชิงลบต่อเสถียรภาพและความมั่นคงภายในประเทศ จีนหวังที่จะเพิ่มพูนความสัมพันธ์กับอาเซียนในทุกๆ ด้าน โดย ยึดหลักการเป็นเพื่อนบ้านที่ดีระหว่างกัน (good neighbourly relations) เป้าหมายของจีนจึงสอดคล้องกับอาเซียนที่ต้องการมีความสัมพันธ์แบบหุ้นส่วนกับมหาอำนาจในภูมิภาค เพื่อเป็นหลักประกันสำหรับเสถียรภาพและความมั่นคงภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ASEAN - China (AESAN-China)
ASEAN - China began when 2534 years (AD 1991) in 2549 (AD2006) have ASEAN-China summit special session here long ครห Ning to celebrate the anniversary of the establishment of relations 15 years. The leaders of ASEAN and China signed the joint statement on ASEAN - China Summit in special.15 years. China is the first country accession countries to negotiate the Treaty of Amity and cooperation in Southeast Asia (TAC) in 2546.(Protocol to the Treaty of Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone). Besides, China also a dialogue partner countries first offer to do the agreement free trade with ASEAN. By the two sides signed ASEAN-China Framework Agreement on Economic Cooperation last year, 2545(6 country) completed within a year 2553 (C.Professor 2010) and with the new ASEAN Member States (CLMV) completed within a year 2558 (AD 2015) by the agreement on trade in goods is signed to last year and 2547. So the service trade have signed up to go on JanThe establishment of ASEAN - China Free Trade Area 2550 with a combined population of 1.85 million people will help promote the expansion of economic, trade and investment between each other. Besides, the ASEAN region with dynamic and is interesting in trade and investment in other countries. Outside the region, in 2550.2.02 billion US dollars, an increase of 25.9% from years 2549 which is worth 1.6 billion US dollars, which achieve the ASEAN and China set is 1 billion US dollars within a year by year 2550 2548 ASEAN partners 4 rank of China. The European Union, the United States and Japan.5 of China, the European Union, the United States, Hong Kong and Japan. In addition, China is also the source of major investment in ASEAN in 2548 have investment value is the amount 3.1 billion US dollars. But Chinese investments in ASEAN remains in a low level compared with the value of investments in China. ASEAN is trying to support China to increase investment in the region.10 main branch including agriculture, information technology, human resource development, investment, the development of each team river transport, energy, culture. Health and tourism.In addition, the ASEAN summit - China Times 11 last month..2550 at the Singapore conference agreed to pack the environmental cooperation is the branch of the main branch 11 cooperation development. ASEAN and China's development during the negotiation memorandum of understanding 3 Edition: (1).Beijing (2) memorandum of understanding on cooperation in intellectual property, and (3) save that with the cooperation of information and mass communication. In addition,Thai has started construction bridge across the Mekong River, which connects the district.Chiang Khong mon.Chiang Rai and ban houayxay of Laos. The routes connecting rod group documents to the south of China. We are under construction is expected to start construction about a quarter 2 and year 2552 is scheduled to be completed in 2554.Thailand will benefit directly in the development of the economic activity is the creation of value added from trade and investment to increase with the transportation route between ASEAN - South China.The West and southwest, which is a designated contact with ASEAN. To reduce the inequality of development may result in the negative on the stability and security in the country. China hopes to improve relations with ASEAN in all.The principle to be good neighbors between (good neighbourly relations) corresponds to the goal of China ASEAN want a relationship partner with the great powers in the region.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: