อาคารพิพิธภัณฑ์ธำรงเคยเป็นบ้านพักของตระกูลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธาน การแปล - อาคารพิพิธภัณฑ์ธำรงเคยเป็นบ้านพักของตระกูลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธาน อังกฤษ วิธีการพูด

อาคารพิพิธภัณฑ์ธำรงเคยเป็นบ้านพักขอ

อาคารพิพิธภัณฑ์ธำรงเคยเป็นบ้านพักของตระกูลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษของประเทศไทย ภายในอาคารมีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของตระกูลในอดีต

- เปิดตั้งแต่แปดโมงครึ่งถึงสี่โมงเย็น หยุดวันจันทร์และวันหยุดราชการนะคะ

ตั้งอยู่ที่ ถ.จะนะ ต.บ่อยาง อ.เมือง ใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา

การเดินทาง หากนำรถส่วนตัวไป ให้เริ่มจากวงเวียนหอนาฬิกาใช้ ถ.จะนะ ตรงไปเล็กน้อยจะเห็นพิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์อยู่ทางขวามือบริเวณหัวมุมสี่แยก

การเดินทาง หากไปรถประจำทาง ให้ขึ้นรถตุ๊กตุ๊กสีแดง

ประวัติความเป็นมา พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์เคยเป็นบ้านพักของรองอำมาตย์โทขุนวินิจพัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) พะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลา บิดาของพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ พลเอกเปรมเป็นบุตรคนที่ 6 และเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 16 ของประเทศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งองคมนตรี เรือนตำกลางสงขลาได้ใช้บ้านหลังนี้จัดแสดงข้าวของเครื่องใช้และประวัติวงศ์ สกุลติณสูลานนท์เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2532 ปัจจุบันเรือนจำกลางสงขลาได้มอบให้เทศบาลเมืองสงขลาเป็นผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ แห่งนี้

ตำแหน่งพะทำมะรง เดิมเขียน พธำมะรงค์ เป็นตำแหน่งของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ คู่กับตำแหน่งพัศดี ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา แต่ได้ยกเลิกไปตามประกาศของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์เมื่อ พ.ศ.2479

น่าสนใจ น่าแวะ
เป็นเรือนไม้ยกพื้นชั้นเดียว หลังคาทรงปั้นหยาสองหลังคู่มีชานเปิดโล่งเชื่อมถึงกัน มีบันไดขึ้นด้านหน้า ภายในจำลองบรรยากาศบ้านพักของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีต มีการจัดแสดงสาแหรกตระกูล ข้าวของเครื่องใช้ในครัว เครื่องจักรสานต่างๆ เตียงนอน ปืนผาหน้าไม้ เฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ประดับตกแต่งบ้านเรือนในอดีต เครื่องสีข้าวขนาดเล็กที่ใช้ในครัวเรือน มีภาพเก่าแก่ประดับตามผนัง บริเวณบ้านยังมีบ่อน้ำบาดาลที่เป็นน้ำใช้ของคนสมัยก่อนด้วย

ข้อมูลทั่วไป - พิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์

พิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์ หรือ บ้านของตระกูลติณสูลานนท์ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนจะนะ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา(ใกล้กับพิพิธภัณฑ สถานแห่งชาติสงขลา) ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีก แห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา จัดสร้างขึ้นโดยกรมราชทัณฑ์ในสมัยของนายสนิท รุจิณรงค์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ในขณะนั้น ทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2530 บนเนื้อที่143.5 ตารางวา งบประมาณ 736,039.26 บาท

เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 โดยนายพิศาล
มูลศาสตร์สาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในขณะนั้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ให้อนุชนรุ่น
หลังได้ระลึกถึงตำแหน่ง "พะทำมะรง" (เดิมใช้คำว่า "พธำมะรงศ์") อันเป็นตำแหน่ง
เก่าแก่ของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี

ในขณะเดียวกันก็เป็นการ เชิดชูวงศ์ตระกูล "ติณสูลานนท์" ที่ครั้งหนึ่ง
รอง อำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) บิดาชองพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี ท่านได้เคยดำรงตำแหน่ง พะทำมะรง พิเศษเมืองสงขลา (พ.ศ.2457) จนกระทั่งได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไป

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ จังหวัดสงขลา เป็นพิพิธภัณฑสถานที่จำลองรูปแบบบ้าน
พัก เดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม ในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งพระทำมะรงพิเศษ เมืองสงขลา จากความทรงจำของ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นเรือนไม้ยกพื้นชั้นเดียว หลังคาทรงปั้นหยา 2 หลังคู่ มีชานเปิดโล่งเชื่อมถึงกัน ภายในมีการจัดแสดงข้างของเครื่องใช้ของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีต และประวติสกุลวงศ์ ปัจจุบันเทศบาลนครสงขลาเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลการ ท่องเที่ยว

อนึ่งที่มาของตระกูล "ติณสูลานนท์" นี้ได้รับพระราชทานมาจาก "พระ
บาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว" เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ปีพ.ศ. 2462
เพื่อ ให้ปวงชนชาวไทยได้มีนามสกุลเพื่อเป็นหลักในการสืบเชื้อสาย เป็นธงชัแห่งครอบครัว และให้ผู้สืบสกุลได้ตั้งทั่นในคุณงามความดี โดยการรักษา ชื่อเสียงเกียรติยศของบรรพบุรุษผู้เป็นต้นตระกูล ให้มีความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงสืบไป

คำว่า ติณสูลานนท์ เป็นนามสกุลของหลวงวินิจ ทัณฑกรรม นามเดิมว่า "บึ้ง"
ผู้เป็นบุตรคนโตในจำนวนพี่น้องรวม 4 คน ของนายสุก และนางขลิบ
ราษฎรชาวสวนแห่งบ้านท่าใหญ่ ตำบลท่าดี อำเภอลานสกา นายบึ้ง เกิดเมื่อ 30
พฤศจิกายน พ.ศ.2424

คำว่า ติณสูลานนท์ มีความหมาย ดังนี้
"ติิณ "แปลว่า "หญ้า"
"สูลา" แปลว่า "คม ยอด "
"นนท์ " แปลว่า "ความพอใจ"
เมื่อรวมกันเข้าเป็นคำว่า "ติณสูลานนท์" แล้วจะแปลว่า "ความยินดีในหญ้าที่มีคม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The maintenance of Museum building was once the home of Privy Councilor Prem tinsulanonda President countersigned family and far-sighted statesman in Thai. Inside, the building contains exhibits of historical family of appliances. -Open from eight and a half hours to four o'clock. Stop Monday and public holidays breakfast Located at road, Tambon Bo Yang Chana Mueang Songkhla National Museum Travel. If the private vehicle, start from the clock tower roundabout take the road again straight a little bit to see Rong Ma phatham Museum is right around the corner. Travel. If you go to the bus, tuk-tuk or red color. Phathammonnga Museum of history has never been a Government officer, Deputy Lieutenant of Khun phan reflect-thokrarom (frowning tinsulanonda) special phathammarong Muang Songkhla. The father of Brig. Gen. Prem tinsulanonda General Prem is the son who is 6 and the Prime Minister of the country's 16. Privy Councillor positions. The Friendship House in the middle of the Songkhla has used this House show antelope and the history of rice. Genus tinsulanonda open officially on September 4, 1989 current prison in the middle of the Songkhla, Songkhla City municipality has awarded a museum administrator. This property Where the original phathammarong burned phatham Ma Rong is the position of the Government Department of corrections with the Governor of a jail location appears in the law of samduang since the time Ayutthaya but was cancelled by the Department of Corrections Act when 2479 (1936) Of interest and visitA one-story wooden House floor lift There are two pairs of hip style roof terrace connecting the open air. There is a ladder up the front, inside the family house atmosphere model tinsulanonda in the past. Exhibits dignitaries family. Rice kitchen appliances Various machine gun over a bed woven furniture at crossbow House decoration used in the past. Rice, small household appliances There is an old photo decor on the walls. There are also house the pond water is groundwater uses of the past. General information-Museum of phatham Ma RongPhatham Museum Ma Rong, or House of the clan tinsulanonda. Located at no. 1 road amphur Muang, Tambon Bo Yang Chana Songkhla, Songkhla (near mount products. Songkhla national) is regarded as the historical attractions at one of Songkhla province held by the Department of corrections created in the days of Mr. Sanit Ruchinrong. Corrections Department Director-General at that time. Doing construction on August 25 2530 (1987) On an area of 143.5 budget 736 square meters, 039.26 baht.Officially opened on September 4 by Phisan Mr. 2532 (1989)Contents of the Ministry of Interior that Sathorn is currently a memorial monument models.After the "phathammarong" has position recall (formerly used the term "phatham Ma rong") as well as position.Old Department of Corrections Department officials have since the Ayutthaya period as capital.At the same time it is a. Man Chu family "tinsulanonda" at one time.Senior Government officer Lieutenant Khun winit thanthokrarom (frowning tinsulanonda) His father, Prem tinsulanonda countersigned Chong former Prime Minister he once served a special phathammarong Muang Songkhla (2457 (1914)) until it is declared using the Corrections Act. Buddhist phathammarong 2479 's position has been cancelled.Phathammonnga Museum, Songkhla is a museum replica home format.The original business of the Government officer, Deputy Lieutenant Khun winit thanthokrarom while he holds the position of doing a special project Ma Muang Songkhla from our memories. Prem tinsulanonda countersigned a wooden shelter Museum, raised ground floor. 2 pair of hip style roof. The open-air deck connecting inside with exhibits of historical instruments and the family's beautiful tinsulanonda genera Wong. Currently Songkhla municipality is responsible for the supervision and development of the data centers. TourismSeveral of the families, "Royal Service" tinsulanonda comes from God, "he said.King Rama "on June 14 2462 (1919)So that Thai people have an extension to the main ช้แห่ง are descended families that traced a currency than in goodness by maintaining. The reputation and honor of the family's ancestors to have a stable successor to prosperity.What is the capital of the surname tinsulanonda winit thanthokrarom original name of "frowning"Children who grow up in the number of people, including 4 brothers Mr. ripe and she trims.The people of Park House, a big port, port d LAN Saka district. Mr. frowning caused when 30November 2424 (1881)The term literally means tinsulanonda as follows:"Tin" meaning "grass""The success of la" which means "sharp peaks," he said."A small earthen cistern" which means "satisfying," he said.When combined into the word "translation" and "the tinsulanonda is pleased in the grass with sharp.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อาคารพิพิธภัณฑ์ธำรงเคยเป็นบ้านพักของตระกูลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษของประเทศไทย ภายในอาคารมีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของตระกูลในอดีต

- เปิดตั้งแต่แปดโมงครึ่งถึงสี่โมงเย็น หยุดวันจันทร์และวันหยุดราชการนะคะ

ตั้งอยู่ที่ ถ.จะนะ ต.บ่อยาง อ.เมือง ใกล้กับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา

การเดินทาง หากนำรถส่วนตัวไป ให้เริ่มจากวงเวียนหอนาฬิกาใช้ ถ.จะนะ ตรงไปเล็กน้อยจะเห็นพิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์อยู่ทางขวามือบริเวณหัวมุมสี่แยก

การเดินทาง หากไปรถประจำทาง ให้ขึ้นรถตุ๊กตุ๊กสีแดง

ประวัติความเป็นมา พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์เคยเป็นบ้านพักของรองอำมาตย์โทขุนวินิจพัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) พะทำมะรงพิเศษเมืองสงขลา บิดาของพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ พลเอกเปรมเป็นบุตรคนที่ 6 และเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 16 ของประเทศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งองคมนตรี เรือนตำกลางสงขลาได้ใช้บ้านหลังนี้จัดแสดงข้าวของเครื่องใช้และประวัติวงศ์ สกุลติณสูลานนท์เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2532 ปัจจุบันเรือนจำกลางสงขลาได้มอบให้เทศบาลเมืองสงขลาเป็นผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ แห่งนี้

ตำแหน่งพะทำมะรง เดิมเขียน พธำมะรงค์ เป็นตำแหน่งของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ คู่กับตำแหน่งพัศดี ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา แต่ได้ยกเลิกไปตามประกาศของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์เมื่อ พ.ศ.2479

น่าสนใจ น่าแวะ
เป็นเรือนไม้ยกพื้นชั้นเดียว หลังคาทรงปั้นหยาสองหลังคู่มีชานเปิดโล่งเชื่อมถึงกัน มีบันไดขึ้นด้านหน้า ภายในจำลองบรรยากาศบ้านพักของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีต มีการจัดแสดงสาแหรกตระกูล ข้าวของเครื่องใช้ในครัว เครื่องจักรสานต่างๆ เตียงนอน ปืนผาหน้าไม้ เฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ประดับตกแต่งบ้านเรือนในอดีต เครื่องสีข้าวขนาดเล็กที่ใช้ในครัวเรือน มีภาพเก่าแก่ประดับตามผนัง บริเวณบ้านยังมีบ่อน้ำบาดาลที่เป็นน้ำใช้ของคนสมัยก่อนด้วย

ข้อมูลทั่วไป - พิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์

พิพิธภัณฑ์พธำมะรงค์ หรือ บ้านของตระกูลติณสูลานนท์ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนจะนะ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา(ใกล้กับพิพิธภัณฑ สถานแห่งชาติสงขลา) ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีก แห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา จัดสร้างขึ้นโดยกรมราชทัณฑ์ในสมัยของนายสนิท รุจิณรงค์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ในขณะนั้น ทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2530 บนเนื้อที่143.5 ตารางวา งบประมาณ 736,039.26 บาท

เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 โดยนายพิศาล
มูลศาสตร์สาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในขณะนั้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ให้อนุชนรุ่น
หลังได้ระลึกถึงตำแหน่ง "พะทำมะรง" (เดิมใช้คำว่า "พธำมะรงศ์") อันเป็นตำแหน่ง
เก่าแก่ของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี

ในขณะเดียวกันก็เป็นการ เชิดชูวงศ์ตระกูล "ติณสูลานนท์" ที่ครั้งหนึ่ง
รอง อำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) บิดาชองพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี ท่านได้เคยดำรงตำแหน่ง พะทำมะรง พิเศษเมืองสงขลา (พ.ศ.2457) จนกระทั่งได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 ตำแหน่งพะทำมะรงจึงได้ถูกยกเลิกไป

พิพิธภัณฑ์พธำมรงค์ จังหวัดสงขลา เป็นพิพิธภัณฑสถานที่จำลองรูปแบบบ้าน
พัก เดิมของรองอำมาตย์โทขุนวินิจทัณฑกรรม ในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งพระทำมะรงพิเศษ เมืองสงขลา จากความทรงจำของ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นเรือนไม้ยกพื้นชั้นเดียว หลังคาทรงปั้นหยา 2 หลังคู่ มีชานเปิดโล่งเชื่อมถึงกัน ภายในมีการจัดแสดงข้างของเครื่องใช้ของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีต และประวติสกุลวงศ์ ปัจจุบันเทศบาลนครสงขลาเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและพัฒนาให้เป็นศูนย์ข้อมูลการ ท่องเที่ยว

อนึ่งที่มาของตระกูล "ติณสูลานนท์" นี้ได้รับพระราชทานมาจาก "พระ
บาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว" เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ปีพ.ศ. 2462
เพื่อ ให้ปวงชนชาวไทยได้มีนามสกุลเพื่อเป็นหลักในการสืบเชื้อสาย เป็นธงชัแห่งครอบครัว และให้ผู้สืบสกุลได้ตั้งทั่นในคุณงามความดี โดยการรักษา ชื่อเสียงเกียรติยศของบรรพบุรุษผู้เป็นต้นตระกูล ให้มีความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงสืบไป

คำว่า ติณสูลานนท์ เป็นนามสกุลของหลวงวินิจ ทัณฑกรรม นามเดิมว่า "บึ้ง"
ผู้เป็นบุตรคนโตในจำนวนพี่น้องรวม 4 คน ของนายสุก และนางขลิบ
ราษฎรชาวสวนแห่งบ้านท่าใหญ่ ตำบลท่าดี อำเภอลานสกา นายบึ้ง เกิดเมื่อ 30
พฤศจิกายน พ.ศ.2424

คำว่า ติณสูลานนท์ มีความหมาย ดังนี้
"ติิณ "แปลว่า "หญ้า"
"สูลา" แปลว่า "คม ยอด "
"นนท์ " แปลว่า "ความพอใจ"
เมื่อรวมกันเข้าเป็นคำว่า "ติณสูลานนท์" แล้วจะแปลว่า "ความยินดีในหญ้าที่มีคม
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: