วัดท่าการ้อง เป็นพระอารามพื้นที่ตั้งของวัดโดยรวมเป็นที่ราบอยู่ติดแม่น้ การแปล - วัดท่าการ้อง เป็นพระอารามพื้นที่ตั้งของวัดโดยรวมเป็นที่ราบอยู่ติดแม่น้ อังกฤษ วิธีการพูด

วัดท่าการ้อง เป็นพระอารามพื้นที่ตั้

วัดท่าการ้อง
เป็นพระอารามพื้นที่ตั้งของวัดโดยรวมเป็นที่ราบอยู่ติดแม่น้ำเจ้าพระยา ใกล้กับวัดธรรมารามและวัดกษัตราธิราชอยู่ห่างจากเกาะเมืองประมาณ ๓ กิโลเมตร ตั้งอยู่นอกพระนครด้านทิศตะวันตกหรือบริเวณทุ่งประเชต ปัจจุบันสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ ๖ ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี่ที่ดินทั้งวัดโฉนดเลขที่ ๖๒๘ เนื้อที่ ๒ ไร่ ๗๘ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือติดตั้งอยู่บริเวณชุมชนอิสลามเป็นส่วนใหญ่ ท่ามกลางมัสยิดถึง ๕ มัสยิด โดยมีบ้านเรือนที่เป็นพุทธศาสนิกชนอยู่ประมาณ ๘-๑๐ หลังคาเรือนเท่านั้นวัดนี้ร้างมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุะยาเสียแก่ข้าศึก เมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๐ และด้วยกาลเวลาที่ผ่านมาเกือบ ๒๐๐ ปี ตลอดจนไม่ได้รับการบูรณะอย่างจิงจัง ทำให้ดบราณสถานภายในวัดส่วนใหญ่มีสภาพชำรุดทรุดโทรมเป็นอย่างมาก หลังจากสถาปณากรุงเทพมหานครแล้วพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์จักรี ต่างทรงปฏิสังขรณ์พระอารามทั้งภายในและภายนอกพระนครสืบมาทุกราชกาล จึงทำให้อุโบสถของวัดมีรูปแบบศิลปะสมัย กรุงรัตนโกสินทร์เจือปนอยุ่ และในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ กรมศิลปากรได้ทำการขุดสำรวจฐานรากพระอุโบสถ พบว่าวัดท่าการ้องได้มีการปฏิสังขรณ์มาไม่ต่ำกว่า ๒ ครั้ง แต่ด้วยเหตุที่โดยรอบวัดเป็นชุมชนอิสลามส่วนใหญ่ และทางราชการไม่มีงบประมาณที่เพียงพอที่จะทำนุบำรุงวัดโบราณต่าง ๆ ได้ทั่วถึง วัดท่าการ้องในเวลาต่อมาจึงมีสภาพไม่ต่างจากวัดร้าง
วัดท่าการ้อง ซึ่งสันนิฐานตามพุทธะลักษณะและซากปรักหังพัง น่าจะสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๑(สมเด็จพระชัยราชา) ประมาณปีพุทธศักราช ๒๐๗๖ หรือ ๔๗๔ ปีเศษมาแล้ว เพราะมีท่าน้ำกั้นวัด ช่วงนั้นแผ่นดินค่อนข้างสงบพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องดี อีกทั้งวัดนี้ยังใช้เป็นที่ประทับพักผ่อน เพื่อเผยแพร่ศาสนาของลัทธิลังกาวงศ์อีกด้วย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนว่า ผู้ใดเป็นผู้สร้างเพราะอยู่นอกเขตพระบรมมหาราชวัง สันนิฐานว่า คงจะเป็นวัดที่ราษฎรสร้างขึ้น เพราะไม่ปรากฏรายชื่อพระอารามหลวงสมัยอยุธยา แต่จากการสังเกตเม็ดมะยมรอบกำแพงพระอุโบสถ จึงสันนิฐานว่าน่าจะมีการบูรณะปฎิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงรัชกาลพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓-๕ )
จากหลักฐานทางโบราณคดีในการสำรวจ ของพระยาโบราณราชธานินท์พร เดชะคุปต์ ซึ่งทำแผนที่การสำรวจวัดและโบราณสถาน ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ระบุชื่อที่คล้ายกับวัดท่าการ้องไว้ ๒ ชื่อ คือวัดท่า กับ วัดการ้อง ซึ่งอยู่ใกล้กัน วัดท่านั้นอยู่ตรงหัวมุมที่แม่น้ำเจ้าพระยาหักเลี้ยวลงสู่ด้านตะวันตก ของเกาะเมืองฝั่งตรงข้ามกับวัดป่าพลู ที่ปากคลองมหานาคทุ่งลุมพลี ส่วนวัดท่าการ้องนั้นอยู่ถัดเข้ามาเกือบถึงหลังวัดธรรมาราม แต่ไม่ทราบช่วงเวลาใด ที่ ๒ วัดนี้รวมเข้าด้วยกันเป็นวัดท่าการ้อง และด้วยไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างว่าสร้างในสมัยใด และไม่ปรากฎชื่อวัดท่าการ้องในรายชื่อ พระอารามหลวงสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงสันนิฐานว่า วัดนี้ไม่ใช่พระอารามหลวง แต่น่าจะเป็นวัดที่ราษฎรร่วมกันสร้าง ทั้งอุโบสถก็ได้รับการบูรณะ มาหลายครั้งหลายครา ทำให้รูปแบบทางสถาปัตยกรรมผิดแผกไปจากเดิม จากรูปแบบของเจดีย์รายที่เป็นเจดีย์เพิ่มมุม รวมถึงปรางค์เล็กที่ด้านหน้าอุโบสถ หากพิจารณาจากขนาด รูปทรงและศิลปะการก่อสร้าง สันนิฐานว่าคงสร้างสมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งเจดีย์รายนั้นก็มักสร้างต่อๆกันมาในชั้นหลัง ทำให้กำหนดอายุของวัดได้ยาก รวมถึงการวางผังสิ่งก่อสร้างซึ่งไม่เน้นสร้างพระวิหาร และจากรูปแบบเจดีย์รายที่ปรากฎ เชื่อว่าวัดท่าการ้องไม่น่าจะมีอายุเก่า ไปถึงสมัยอยุธยาตอนต้น
จากพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เรื่องศึกหงสาวดีครั้งทึ่ ๑ (คราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัย) เหตุการณ์ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้กล่าวถึงวัดท่าการ้องความว่า “...สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสวยราชย์ เมื่อปีวอกจุลศักราช ๙๑๐ พ.ศ. ๒๐๙๒ เสวยราชย์ได้ ๗ เดือน พระเจ้าหงสาวดีตเบ็งชเวตี้ก็ยกทัพเข้ามา...ในคราวนั้นปรากฎว่าไทยแบ่งกองทัพออกไปตั้งค่ายรักษาชานพระนครทางด้านเหนือ ๒ ค่าย คือ ให้พระสุนทรสงคราม ผู้ว่าราชการเมืองสุพรรณบุรี คุมพลไปตั้งรักษาการที่ป้อมจำปา อยู่ฝั่งตะวันตก ลำน้ำหัวตะพาน วัดท่าการ้องแห่ง ๑ ...” ซึ่งพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขานี้ชำระในรัชกาลที่ ๔ แต่คำอธิบายที่กล่าวถึงที่ตั้งป้อมจำปาว่าอยู่เหนือวัดท่าการ้องเป็นคำอธิบายส่วนหนึ่ง ในตอนอื่นๆที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเขียนอธิบายเนื้อความขึ้นภาพหลัง เพื่อให้ผู้ศึกษาพระราชพงศาวดารเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น โดยชี้ตำแหน่งของป้อมจำปา (ป้อมจำปาพล) ว่าอยู่บริเวณใด ซึ่งไม่อาจยืนยันชัดเจนได้ว่า เมื่อเกิดศึกหงสาวดีในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดินั้น วัดท่าการ้องได้สร้างขึ้นแล้วหรือไม่
จากหนังสือไทยรบพม่า ตอนสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ พ.ศ.๒๓๐๙ กล่าวถึงวัดท่าการ้องความว่า “...ตัวเนเมียวสีหบดีย้ายมาจากค่ายปากน้ำ พระประสบมาอยู่ที่ค่ายโพธิ์สามต้น ให้กองหน้าเข้ามาตั้งค่ายที่วัดภูเขาทอง แล้วให้รุกเข้ามาตั้งค่ายวัดท่าการ้องอีกแห่ง ๒ ฝ่ายข้างในกรุงฯ เห็นพม่าเข้ามาตั้งค่ายถึงวัดท่าการ้องทางปืนใหญ่จะยิงได้ถึงพระนครก็ให้กองทัพเรือออกไปตีค่ายพม่า...”
และจากพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ยังกล่าวถึงวัดท่าการ้องในปี พ.ศ. ๒๓๑๐(สงครามเสียกรุงครั้งที่ ๒) เมื่อครั้งพระเจ้ามังระส่งมหานรธาและเนเมียวเสนาบดีมารบ กรุงศรีอยุธยาระหว่าง พ.ศ.๒๓๐๙-๒๓๑๐ นั้น พม่าตั้งค่ายล้อมกรุงรายรอบทุกด้าน เมื่อมังนรธาป่วยสิ้นชีวิตลงเนเมียวเสนาบดีได้เป็นแม่ทัพใหญ่ว่าการทัพแต่ผู้เดียว ชื่อของวัดท่าการ้องถูกบันทึกในพระราชพงศาวดารฉบับนี้โดยตรงไว้ดังนี้
“...เนเมียวจึงยกพลทหารเข้ามาตั้งค่ายใหญ่ตำบลโพธิ์สามต้นให้รื้อเอาอิฐโบสถ์วิหารวัดมาก่อกำแพงล้อมเป็นค่าย แล้วให้เกณฑ์นายทัพทั้งปวงยกมาตั้งค่ายอยู่ ณวัดภูเขาทองและบ้านป้อมวัดท่าการ้องให้ปลูกหอรอและก่อป้อมให้สูงขึ้น ชื่อป้อมจำปาเอาปืนใหญ่น้อย ขึ้นยิงมาในพระนคร...”
จากคำให้การขุนหลวงหาวัดตอนพม่ายกทัพเข้าล้อมกรุง(สงครามคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒) กล่าวว่า”...บรรดาทัพทั้งก็ยกล้อมกรุงไว้รอบทัพใหญ่ ตั้งอยู่สีกุทิศตะวันตกเฉียงใต้เมืองอันแม่ทัพนั้นชื่อมหานราทาค่ายหนึ่งทิศต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัดท่าการ้อง
เป็นพระอารามพื้นที่ตั้งของวัดโดยรวมเป็นที่ราบอยู่ติดแม่น้ำเจ้าพระยา ใกล้กับวัดธรรมารามและวัดกษัตราธิราชอยู่ห่างจากเกาะเมืองประมาณ ๓ กิโลเมตร ตั้งอยู่นอกพระนครด้านทิศตะวันตกหรือบริเวณทุ่งประเชต ปัจจุบันสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ ๖ ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี่ที่ดินทั้งวัดโฉนดเลขที่ ๖๒๘ เนื้อที่ ๒ ไร่ ๗๘ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือติดตั้งอยู่บริเวณชุมชนอิสลามเป็นส่วนใหญ่ ท่ามกลางมัสยิดถึง ๕ มัสยิด โดยมีบ้านเรือนที่เป็นพุทธศาสนิกชนอยู่ประมาณ ๘-๑๐ หลังคาเรือนเท่านั้นวัดนี้ร้างมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุะยาเสียแก่ข้าศึก เมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๐ และด้วยกาลเวลาที่ผ่านมาเกือบ ๒๐๐ ปี ตลอดจนไม่ได้รับการบูรณะอย่างจิงจัง ทำให้ดบราณสถานภายในวัดส่วนใหญ่มีสภาพชำรุดทรุดโทรมเป็นอย่างมาก หลังจากสถาปณากรุงเทพมหานครแล้วพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์จักรี ต่างทรงปฏิสังขรณ์พระอารามทั้งภายในและภายนอกพระนครสืบมาทุกราชกาล จึงทำให้อุโบสถของวัดมีรูปแบบศิลปะสมัย กรุงรัตนโกสินทร์เจือปนอยุ่ และในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ กรมศิลปากรได้ทำการขุดสำรวจฐานรากพระอุโบสถ พบว่าวัดท่าการ้องได้มีการปฏิสังขรณ์มาไม่ต่ำกว่า ๒ ครั้ง แต่ด้วยเหตุที่โดยรอบวัดเป็นชุมชนอิสลามส่วนใหญ่ และทางราชการไม่มีงบประมาณที่เพียงพอที่จะทำนุบำรุงวัดโบราณต่าง ๆ ได้ทั่วถึง วัดท่าการ้องในเวลาต่อมาจึงมีสภาพไม่ต่างจากวัดร้าง
วัดท่าการ้อง ซึ่งสันนิฐานตามพุทธะลักษณะและซากปรักหังพัง น่าจะสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๑(สมเด็จพระชัยราชา) ประมาณปีพุทธศักราช ๒๐๗๖ หรือ ๔๗๔ ปีเศษมาแล้ว เพราะมีท่าน้ำกั้นวัด ช่วงนั้นแผ่นดินค่อนข้างสงบพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องดี อีกทั้งวัดนี้ยังใช้เป็นที่ประทับพักผ่อน เพื่อเผยแพร่ศาสนาของลัทธิลังกาวงศ์อีกด้วย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนว่า ผู้ใดเป็นผู้สร้างเพราะอยู่นอกเขตพระบรมมหาราชวัง สันนิฐานว่า คงจะเป็นวัดที่ราษฎรสร้างขึ้น เพราะไม่ปรากฏรายชื่อพระอารามหลวงสมัยอยุธยา แต่จากการสังเกตเม็ดมะยมรอบกำแพงพระอุโบสถ จึงสันนิฐานว่าน่าจะมีการบูรณะปฎิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงรัชกาลพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓-๕ )
จากหลักฐานทางโบราณคดีในการสำรวจ ของพระยาโบราณราชธานินท์พร เดชะคุปต์ ซึ่งทำแผนที่การสำรวจวัดและโบราณสถาน ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ระบุชื่อที่คล้ายกับวัดท่าการ้องไว้ ๒ ชื่อ คือวัดท่า กับ วัดการ้อง ซึ่งอยู่ใกล้กัน วัดท่านั้นอยู่ตรงหัวมุมที่แม่น้ำเจ้าพระยาหักเลี้ยวลงสู่ด้านตะวันตก ของเกาะเมืองฝั่งตรงข้ามกับวัดป่าพลู ที่ปากคลองมหานาคทุ่งลุมพลี ส่วนวัดท่าการ้องนั้นอยู่ถัดเข้ามาเกือบถึงหลังวัดธรรมาราม แต่ไม่ทราบช่วงเวลาใด ที่ ๒ วัดนี้รวมเข้าด้วยกันเป็นวัดท่าการ้อง และด้วยไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างว่าสร้างในสมัยใด และไม่ปรากฎชื่อวัดท่าการ้องในรายชื่อ พระอารามหลวงสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงสันนิฐานว่า วัดนี้ไม่ใช่พระอารามหลวง แต่น่าจะเป็นวัดที่ราษฎรร่วมกันสร้าง ทั้งอุโบสถก็ได้รับการบูรณะ มาหลายครั้งหลายครา ทำให้รูปแบบทางสถาปัตยกรรมผิดแผกไปจากเดิม จากรูปแบบของเจดีย์รายที่เป็นเจดีย์เพิ่มมุม รวมถึงปรางค์เล็กที่ด้านหน้าอุโบสถ หากพิจารณาจากขนาด รูปทรงและศิลปะการก่อสร้าง สันนิฐานว่าคงสร้างสมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งเจดีย์รายนั้นก็มักสร้างต่อๆกันมาในชั้นหลัง ทำให้กำหนดอายุของวัดได้ยาก รวมถึงการวางผังสิ่งก่อสร้างซึ่งไม่เน้นสร้างพระวิหาร และจากรูปแบบเจดีย์รายที่ปรากฎ เชื่อว่าวัดท่าการ้องไม่น่าจะมีอายุเก่า ไปถึงสมัยอยุธยาตอนต้น
จากพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เรื่องศึกหงสาวดีครั้งทึ่ ๑ (คราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัย) เหตุการณ์ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้กล่าวถึงวัดท่าการ้องความว่า “...สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสวยราชย์ เมื่อปีวอกจุลศักราช ๙๑๐ พ.ศ. ๒๐๙๒ เสวยราชย์ได้ ๗ เดือน พระเจ้าหงสาวดีตเบ็งชเวตี้ก็ยกทัพเข้ามา...ในคราวนั้นปรากฎว่าไทยแบ่งกองทัพออกไปตั้งค่ายรักษาชานพระนครทางด้านเหนือ ๒ ค่าย คือ ให้พระสุนทรสงคราม ผู้ว่าราชการเมืองสุพรรณบุรี คุมพลไปตั้งรักษาการที่ป้อมจำปา อยู่ฝั่งตะวันตก ลำน้ำหัวตะพาน วัดท่าการ้องแห่ง ๑ ...” ซึ่งพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขานี้ชำระในรัชกาลที่ ๔ แต่คำอธิบายที่กล่าวถึงที่ตั้งป้อมจำปาว่าอยู่เหนือวัดท่าการ้องเป็นคำอธิบายส่วนหนึ่ง ในตอนอื่นๆที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเขียนอธิบายเนื้อความขึ้นภาพหลัง เพื่อให้ผู้ศึกษาพระราชพงศาวดารเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น โดยชี้ตำแหน่งของป้อมจำปา (ป้อมจำปาพล) ว่าอยู่บริเวณใด ซึ่งไม่อาจยืนยันชัดเจนได้ว่า เมื่อเกิดศึกหงสาวดีในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดินั้น วัดท่าการ้องได้สร้างขึ้นแล้วหรือไม่
จากหนังสือไทยรบพม่า ตอนสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ พ.ศ.๒๓๐๙ กล่าวถึงวัดท่าการ้องความว่า “...ตัวเนเมียวสีหบดีย้ายมาจากค่ายปากน้ำ พระประสบมาอยู่ที่ค่ายโพธิ์สามต้น ให้กองหน้าเข้ามาตั้งค่ายที่วัดภูเขาทอง แล้วให้รุกเข้ามาตั้งค่ายวัดท่าการ้องอีกแห่ง ๒ ฝ่ายข้างในกรุงฯ เห็นพม่าเข้ามาตั้งค่ายถึงวัดท่าการ้องทางปืนใหญ่จะยิงได้ถึงพระนครก็ให้กองทัพเรือออกไปตีค่ายพม่า...”
และจากพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ยังกล่าวถึงวัดท่าการ้องในปี พ.ศ. ๒๓๑๐(สงครามเสียกรุงครั้งที่ ๒) เมื่อครั้งพระเจ้ามังระส่งมหานรธาและเนเมียวเสนาบดีมารบ กรุงศรีอยุธยาระหว่าง พ.ศ.๒๓๐๙-๒๓๑๐ นั้น พม่าตั้งค่ายล้อมกรุงรายรอบทุกด้าน เมื่อมังนรธาป่วยสิ้นชีวิตลงเนเมียวเสนาบดีได้เป็นแม่ทัพใหญ่ว่าการทัพแต่ผู้เดียว ชื่อของวัดท่าการ้องถูกบันทึกในพระราชพงศาวดารฉบับนี้โดยตรงไว้ดังนี้
“...เนเมียวจึงยกพลทหารเข้ามาตั้งค่ายใหญ่ตำบลโพธิ์สามต้นให้รื้อเอาอิฐโบสถ์วิหารวัดมาก่อกำแพงล้อมเป็นค่าย แล้วให้เกณฑ์นายทัพทั้งปวงยกมาตั้งค่ายอยู่ ณวัดภูเขาทองและบ้านป้อมวัดท่าการ้องให้ปลูกหอรอและก่อป้อมให้สูงขึ้น ชื่อป้อมจำปาเอาปืนใหญ่น้อย ขึ้นยิงมาในพระนคร...”
จากคำให้การขุนหลวงหาวัดตอนพม่ายกทัพเข้าล้อมกรุง(สงครามคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒) กล่าวว่า”...บรรดาทัพทั้งก็ยกล้อมกรุงไว้รอบทัพใหญ่ ตั้งอยู่สีกุทิศตะวันตกเฉียงใต้เมืองอันแม่ทัพนั้นชื่อมหานราทาค่ายหนึ่งทิศต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Measured Takarong
a monastery in the overall measure of the plains adjacent to the river. Temples and monasteries Kasattrathirat Thammaram from the island city located about 3 kilometers outside the capital in the west or in the field of Chet. Under the current Sangha Maha Nikai The fort is located at Moo 6, Baan Phra. Ayutthaya Has Landed Deed No. 628 measuring 78 square meters area of 2 hectares of territory north, mostly located in the community of Islam. Among the five mosques, homes, mosques, with a Buddhist temple is located about 8-10 homes only abandoned since Ayudhya Iua pharmaceutical waste to the enemy since 2310 and with the passage of time over the past 200 years as well. It has not been restored, seriously. Brahma temple at the site, making the most of them have deteriorated significantly. After architectural integration Bangkok And the King and the royal family in the Chakri Dynasty. He restored the monastery, both inside and outside the capital, deriving all his time. As a result of the temple is a temple of art. Rattanakosin additives live and in the year 2508 the Fine Arts Department excavated the foundations explore the temple. The temple has been restored Takarong not less than 2 times, but because of the surrounding temples are mostly Islamic community. And the government does not have enough budget to preserve the ancient temple of Wat Takarong thoroughly at a later time, it is not unlike the temple
Wat Takarong. This spatially characteristics and enlightened by the crash wreckage. Which was built during the reign of. 1 (King Victor Raj), about the year 2076 or 474 years ago because of the Lonely chip measure. At that time, the land was relatively peaceful Buddhist great prosperity. It is also used as a vacation. The Apostolic Creed Lanka too. But no evidence is clear that. Who is the creator because it is outside the palace was assumed that a temple would be built representatives. Because it is not in the list, monastery Ayutthaya. However, the observation crown wall around the temple. It was assumed that would have restored the Black Box Calendar Prophecy up in the period. During the reign of King Rama I the head and Mongkut (Rama 3-5)
Archaeological evidence from the survey. Prince of ancient foundation's blessing Tejagupta which mapping survey and historic sites. In the reign of the 5 names that are similar to the measured Takarong Portal 2 is a measure of demand, which are close together. Temple is located at the corner of River swerved into the west. Of the island, opposite Wat Phu. At Pak Khlong Ton Sai Lumphli. The measured Takarong the next one is coming almost to Thammaram. I do not know any moment a second measure is combined into a single measure Takarong. And with no evidence of any building built in that period. And does not appear in the list of temples Takarong. Monastery of Ayutthaya It was assumed that This measure is not a monastery But the probability is that people create together. The chapel has been restored Several times Make architectural style is unlike that of the original. The form of a pagoda pagoda corner. The small church in front of the temple. Considering the size Shapes and Arts Building Spatially would make the late Ayutthaya period. The pagoda is often created to come in the back. Make the life of the measure can be difficult. The layout of the building, which is focused on building the temple. The pagoda style depicted. Believes that this measure is unlikely to Takarong old. To the early Ayutthaya period
from the Chronicles, Vol rescript. The battle Bago was employed 1 (time of Suriyothai) events in the reign of Emperor. Mentioned measure Takarong that. "... Her emperor reigned. When the monkey Holocene 910 year reign in 2092 was 7 months God Bago City, Choi was the Norwegian troops in Thailand ... At that time, it turns out that the army was encamped maintain the outskirts of Bangkok. The northern two camps is that the beautiful war. Suphanburi Governor Acting troops to guard the fort at Champa. The West Coast Ram River Measured Takarong of 1 ..., "which chronicles the royal rescript is paid in the days of 4, but the description mentioned above that the fort Champa Temple Takarong a part description. In other HRH Prince Damrong: Who wrote the text in the image. In order to study the chronicles understand more clearly. Champa, indicating where the fort (Fort Champa troops) that from anywhere. This clearly can not confirm that. When the battle Bago in the reign of King Emperor. Measured Takarong have already built or not
the book Thailand and Burma. Part III discusses the major visual 2309 Takarong measure that. "... The Nemeao Seehabodee moved from Camp Cove. I went through the camp Optissamtgn. The striker set up the camp at Temple Mountain. Then move into the camp measured Takarong another in the two sides. See Myanmar set up the camp to measure Takarong the cannon will shoot up to capital is the Navy to strike camp Myanmar ... "
and the Chronicles of the rescript. Also mentioned is Takarong in 2310 (War of the city No. 2) when the King Hsinbyushin a student's name, and daimyo Martha Steward war. During the Ayutthaya 2309-2310 BC, Burma camp surrounded and besieged on all sides. When patients died, Martha R. Monk's daimyo stewards as captains of the army alone. The temple's name Takarong be recorded in the chronicles directly to this as follows:
"... it's daimyo military troops encamped Optissamtgn large district to dismantle the brick church, temple builds a wall around the camp. Then the military commander of all troops camped. The Mountain and Fort House measure Takarong tower waiting to grow and build forts to rise. Name splices out the big guns at the fort. A shot in the capital ... "
the testimony select a destination for measuring the Burmese troops besieged (war time, the city No. 2) states that "... the army besieged and took the main force. Located in the southwestern city of Turku color is named commander of the camp to the King Nara.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดท่าการ้อง
.A monastery, temple is located area overall plains near the supermarket. Near the temple and the wat kasattrathiraj dhammaram away from the island city of about 3 kilometers, located outside the city in the West or in the field of ChetLocated at the 6 House District Fort, Si Ayutthaya province weighs the measure number six land deed in space 2 rai. 7 8 square meters, the northern territory is installed in the Islamic community, mostly among the mosques.The mosque, with homes that a Buddhist is about 8 - 10 houses only created since the time of this temple is Yang channels to the enemy. When B.Prof.With the passage of time and the past 23 10 nearly 200 years as well as not been restored as serious. My brother in the place inside the temple mainly the diarrhea is very much.He rebuilt the monastery, both within and outside the campus, dating all of doom. The Church of the art form period. In Rattanakosin additives and in B.Prof.The fine arts department has ๒๕๐๘ digging foundation survey temple. Found that วัดท่าการ้อง was rebuilt to not less than 2 times, but because the surrounding the temple เป็นชุมชน Islam mainly.. thoroughly. วัดท่าการ้อง at a later time, so have no different from an abandoned temple
.วัดท่าการ้อง, which assumes the enlightened manner and the wreckage after broken. Should be built in the reign (King Chai Raja) about the year 20. 6 or 7 4 years 4 scrap. Because the waterside barrier measure.The temple is also used as a residence for rest. To disseminate religious cults of Lanka family. But unidentified clear. He is the creator, because outside the royal palace. Assumed would be the temple is built.But from the observation of stem winder around the wall temple. It assumes that should be restored to สังข) up in the Rattanakosin period. During the reign of King Mongkut's reign and pranangklao King King (3-5)
.From archaeological evidence in the survey. Phraya ancient royal tanin / blessing in which mapping survey of temples and ancient reign reign at 5 name similar to วัดท่าการ้อง. 2. The name is wat THA and measure the crows sing, which are close to each other.City of the island opposite the temple pool Pak Khlong Mahanak field lumphli. The วัดท่าการ้อง is next to almost town dhammaram, but do not know any time. 2. This temple is วัดท่าการ้อง combine together.And do not appear วัดท่าการ้อง name on the list. Royal Orchid, it assumes that this temple is not a monastery But it should be measured at the building together The temple has been restored to numerous times.From the form of the pagoda pagoda angle. The stupa is small at the front room, if considering the size, shape, and the art of construction. Theory must be created in the late Ayutthaya periodThe age limit of the temple can be difficult. The planning of building, which does not focus on building the temple. And from the style pagoda cases appear. Believe วัดท่าการ้อง not old age to early period
.From the original Royal writing about war chronicle Pegu times that one time lost king สุริโยท (age). Events in the dolly. Discusses the วัดท่าการ้อง that "...Maha chakkraphat to reign, when the monkey coup d 9 and 10 and 20 9 2 reign. 7 months. God Pegu) BEng Choi Di's troops in...At that time showed that the Thai army encamped maintain Chan city break out North 2 camp is that came นทร war governor suphan Buri. Hold up acting at Fort Champa on the West River, Hua taphan.1...."The chronicle of the Royal letters this settle in thi 4 but the explanation mentioned that set the champa that over the วัดท่าการ้อง explain part.In order to study the Royal chronicles understand more clearly by the point position of the fort, Champa (Fort Champa Army) in one area, which could not be confirmed that. When the battle of Pegu in the reign of Dolly.From the book when her majesty พระเจ้าเอกทัศ Myanmar Thai fighter in her head วัดท่าการ้อง 9 mentioned that "...The houko kuwashima moved from camp inlet. The experience in the three tree camp Pho The striker into golden mountain temple to camp Then strikes pitched วัดท่าการ้อง again of two parties in the city.... "and from the chronicle of the Royal letters!
Also discussed วัดท่าการ้อง year, 10 สงครามเสียกรุง 23 (second) time when Injong private fishing and Alain Martha ne myo minister came to battle the Ayutthaya between. BC23 and 9 - 23 10. Myanmar pitched siege surrounded on all sides. When มังนร time sick died down ne myo minister a great general that the army alone. The name of the วัดท่าการ้อง was recorded in the chronicle of this directly as follows:
"...NE myo so troops in the army camp big tree to take all three District of brick temple temple made walls around the camp. To the military commander all quoted pitched.The name Fort Champa took the little cannon up shot in Bangkok.... "
according to ขุนหลวงหาวัด when Burmese troops in the siege of the war time เสียกรุงครั้งที่ (2) said"... The entire army was raised the siege around the headquarters. Located southwest city color's general name of metropolitan Ratha camp one direction.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: