บทที่ 11ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้นค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses การแปล - บทที่ 11ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้นค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses อังกฤษ วิธีการพูด

บทที่ 11ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้นค

บทที่ 11
ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้น
ค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses)
ค่าเสื่อมราคา คือ จำนวนเงินที่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรเสื่อมค่าลงอันเนื่องมาจากการใช้งานสินทรัพย์ถาวรนั้น ดังที่เคยอธิบายแล้วในบทที่ 1 เรื่องสินทรัพย์ ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นมีอายุการใช้งานเกิน 1 ปี แต่ เมื่อใช้ไปแล้วจริงอยู่ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นยังไม่หมดไป แต่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรนั้นก็ไม่เหลือเท่าเดิมแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรนั้นมีการเสื่อมค่าลงตามการใช้งานนั่นเอง การที่สินทรัพย์ถาวรนั้นเสื่อมค่าลงในแต่ละปี จนหมดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ถาวรนั้น คือ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี ซึ่งบัญชีค่าเสื่อมราคานี้ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ กิจการจะต้องทำการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคานี้ทุกวันสิ้นงวดบัญชีของกิจการ ทั้งนี้เนื่องจากจะได้ปรับปรุงมูลค่าสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง ซึ่งสินทรัพย์ถาวรทุกชนิดจะต้องมีการคิดค่าเสื่อมราคา ยกเว้นที่ดิน
ในการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรนี้ บันทึกบัญชีได้โดย เดบิต ค่าเสื่อมราคา และเครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งเป็นบัญชีปรับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง โดยที่บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสมนี้เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ที่มียอดคงเหลืออยู่ทางด้านเครดิต เพื่อจะเอาไว้ปรับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริงนั่นเอง โดยที่สินทรัพย์ถาวรสุทธิ จะเท่ากับสินทรัพย์ถาวรที่ราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งยอดของค่าเสื่อมราคาสะสมจะเพิ่มขึ้นทุกปี จะทำให้ยอดของสินทรัพย์ถาวรสุทธิลดลงทุกปีเช่นกัน ซึ่งถูกต้องตามความเป็นจริง

การคิดค่าเสื่อมราคา
การคิดค่าเสื่อมราคามีวิธีการคิดมากมายหลายวิธี แต่ไม่ว่าจะใช้วิธีใด ก็จะต้องทราบข้อมูล ดังนี้
ราคาทุนของสินทรัพย์ถาวร (Cost of Assets)คือ ต้นทุนทั้งหมดที่กิจการจ่ายไปเพื่อที่จะได้มาซึ่งสินทรัพย์ถาวรนั้นในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน ดังนั้น ราคาทุนก็จะประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จะทำให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน เช่น ค่าขนส่ง ค่าติดตั้ง เป็นต้น
อายุการใช้งานโดยประมาณ (Estimated Life)คือ ระยะเวลาที่กิจการประมาณว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นจะใช้ได้
มูลค่าซาก (Salvage Value) คือ จำนวนเงินที่คาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์นั้นเมื่อหมดอายุการใช้งาน


การบันทึกบัญชี
เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxx
ค่าเสื่อมราคา ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการที่ไม่ได้เป็นตัวเงิน เนื่องจากเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ซึ่งมีราคาสูง และมีการใช้งานหลายปี ถ้าจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนเลยก็จะทำให้มีค่าใช้จ่ายสูง ในปีที่ซื้อสินทรัพย์ ส่วนปีถัดไปจะไม่มีค่าใช้จ่ายเลยแม้ว่าจะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ๆ ดังนั้นจึงต้องมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายตามจำนวนปีที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น
ค่าเสื่อมราคาสะสม เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ แต่เป็นตัวลดยอดของสินทรัพย์นั้น ๆ เพราะเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ก็จะบันทึกเป็นสินทรัพย์ แต่สินทรัพย์นี้เมื่อมีการใช้งานแล้วจะเสื่อมค่าลง ดังนั้นทุกสิ้นปีจึงต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา
วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคา
1.วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )
2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)
3. วิธีคำนวณตามผลผลิต(Productive-output method)
4. วิธีลดลงทุกปี (Reducing-charge method)
ก.Declining balance method
ข. Double-declining balance method
ค. Sum of years’ digits method
5.Group depreciation
6. Composite depreciation
7. โดยวิธีอื่นๆ
1. วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )
การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้ตั้งอยู่บนข้อสมมติฐานว่า สินทรัพย์จะเสื่อมสภาพไปตามระยะเวลามากกว่าการใช้งาน และการเสื่อมสภาพนั้นเป็นการเสื่อมสภาพในอัตราที่เท่ากันทุกปี ดังนั้น ค่าเสื่อมราคาจึงเท่ากันทุกปีตามอัตราการเสื่อมสภาพ วิธีนี้นิยมใช้กันมากเพราะเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะเป็นการปันส่วนมูลค่าเสื่อมสภาพของสินทรัพย์ให้เป็นค่าเสื่อมราคาที่เท่ากันทุกปีตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น ซึ่งค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะคำนวณได้ดังนี้
ค่าเสื่อมราคา/ปี = มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี)
อายุการใช้งาน
หรือ ค่าเสื่อมราคา/ปี = (มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) ) x อัตราค่าเสื่อมราคา
เมื่อคำนวณค่าเสื่อมราคาได้ ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบัน กิจการจะทำการบันทึกบัญชีดังนี้
เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxx

ตัวอย่างที่ 1. วันที่ 1 มกราคม 2541 ซื้อเครื่องจักรราคาทุน 120,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี ราคาขายซาก 20,000 บาท
ค่าเสื่อมราคาต่อปี = 120,000-20,000
5 ปี
= 20,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ธ.ค 31Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร


2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)
การคำนวณค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้จะเฉลี่ยต้นทุนขิงสินทรัพย์ ตามชั่วโมงทำงาน ที่กิจกรจะได้รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ดังนั้นค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะมีจำนวนไม่เท่ากัน เพราะอยู่กับชั่วโมงการทำงานของสินทรัพย์ในแต่ละปี ว่าใช้ชั่วโมงการทำงานมากหรือน้อย ดังนี้
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = ราคาทุน-ราคาซาก
ประมาณชั่วโมงการทำงาน
2. ค่าเสื่อมราคาต่อปี = อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง×จำนวนชั่วโมงการทำงานในแต่ละปี

ตัวอย่างที่ 2 จากโจทย์ที่ 1 สมมติว่าเครื่องจักรประมาณว่าจะใช้งานได้ 50,000 ชั่วโมง และกิจการเดินเครื่องจักรในแต่ละปี ดังนี้
ปี 2541 10,000 ชั่วโมง
ปี 2542 25,000 ชั่วโมง
การคำนวณ
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = 120,000-20,000
50,000
= 2 บาท
2. ค่าเสื่อมราคาแต่ละปี
ปี 2541 = 2×10,000
= 20,000 บาท
ปี 2542 = 2×25,000
= 50,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ปี 2541
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
ปี 2542
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 50,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 50,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 11Depreciation and value to disappearDepreciation (Depreciation Expenses). ค่าเสื่อมราคา คือ จำนวนเงินที่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรเสื่อมค่าลงอันเนื่องมาจากการใช้งานสินทรัพย์ถาวรนั้น ดังที่เคยอธิบายแล้วในบทที่ 1 เรื่องสินทรัพย์ ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นมีอายุการใช้งานเกิน 1 ปี แต่ เมื่อใช้ไปแล้วจริงอยู่ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นยังไม่หมดไป แต่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรนั้นก็ไม่เหลือเท่าเดิมแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรนั้นมีการเสื่อมค่าลงตามการใช้งานนั่นเอง การที่สินทรัพย์ถาวรนั้นเสื่อมค่าลงในแต่ละปี จนหมดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ถาวรนั้น คือ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี ซึ่งบัญชีค่าเสื่อมราคานี้ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ กิจการจะต้องทำการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคานี้ทุกวันสิ้นงวดบัญชีของกิจการ ทั้งนี้เนื่องจากจะได้ปรับปรุงมูลค่าสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง ซึ่งสินทรัพย์ถาวรทุกชนิดจะต้องมีการคิดค่าเสื่อมราคา ยกเว้นที่ดินในการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรนี้ บันทึกบัญชีได้โดย เดบิต ค่าเสื่อมราคา และเครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งเป็นบัญชีปรับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง โดยที่บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสมนี้เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ที่มียอดคงเหลืออยู่ทางด้านเครดิต เพื่อจะเอาไว้ปรับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริงนั่นเอง โดยที่สินทรัพย์ถาวรสุทธิ จะเท่ากับสินทรัพย์ถาวรที่ราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งยอดของค่าเสื่อมราคาสะสมจะเพิ่มขึ้นทุกปี จะทำให้ยอดของสินทรัพย์ถาวรสุทธิลดลงทุกปีเช่นกัน ซึ่งถูกต้องตามความเป็นจริงการคิดค่าเสื่อมราคา การคิดค่าเสื่อมราคามีวิธีการคิดมากมายหลายวิธี แต่ไม่ว่าจะใช้วิธีใด ก็จะต้องทราบข้อมูล ดังนี้ ราคาทุนของสินทรัพย์ถาวร (Cost of Assets)คือ ต้นทุนทั้งหมดที่กิจการจ่ายไปเพื่อที่จะได้มาซึ่งสินทรัพย์ถาวรนั้นในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน ดังนั้น ราคาทุนก็จะประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จะทำให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน เช่น ค่าขนส่ง ค่าติดตั้ง เป็นต้น อายุการใช้งานโดยประมาณ (Estimated Life)คือ ระยะเวลาที่กิจการประมาณว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นจะใช้ได้ มูลค่าซาก (Salvage Value) คือ จำนวนเงินที่คาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์นั้นเมื่อหมดอายุการใช้งาน

การบันทึกบัญชี
เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxx
ค่าเสื่อมราคา ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการที่ไม่ได้เป็นตัวเงิน เนื่องจากเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ซึ่งมีราคาสูง และมีการใช้งานหลายปี ถ้าจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนเลยก็จะทำให้มีค่าใช้จ่ายสูง ในปีที่ซื้อสินทรัพย์ ส่วนปีถัดไปจะไม่มีค่าใช้จ่ายเลยแม้ว่าจะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ๆ ดังนั้นจึงต้องมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายตามจำนวนปีที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น
ค่าเสื่อมราคาสะสม เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ แต่เป็นตัวลดยอดของสินทรัพย์นั้น ๆ เพราะเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ก็จะบันทึกเป็นสินทรัพย์ แต่สินทรัพย์นี้เมื่อมีการใช้งานแล้วจะเสื่อมค่าลง ดังนั้นทุกสิ้นปีจึงต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา
วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคา
1.วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )
2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)
3. วิธีคำนวณตามผลผลิต(Productive-output method)
4. วิธีลดลงทุกปี (Reducing-charge method)
ก.Declining balance method
ข. Double-declining balance method
ค. Sum of years’ digits method
5.Group depreciation
6. Composite depreciation
7. โดยวิธีอื่นๆ
1. วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )
การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้ตั้งอยู่บนข้อสมมติฐานว่า สินทรัพย์จะเสื่อมสภาพไปตามระยะเวลามากกว่าการใช้งาน และการเสื่อมสภาพนั้นเป็นการเสื่อมสภาพในอัตราที่เท่ากันทุกปี ดังนั้น ค่าเสื่อมราคาจึงเท่ากันทุกปีตามอัตราการเสื่อมสภาพ วิธีนี้นิยมใช้กันมากเพราะเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะเป็นการปันส่วนมูลค่าเสื่อมสภาพของสินทรัพย์ให้เป็นค่าเสื่อมราคาที่เท่ากันทุกปีตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น ซึ่งค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะคำนวณได้ดังนี้
ค่าเสื่อมราคา/ปี = มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี)
อายุการใช้งาน
หรือ ค่าเสื่อมราคา/ปี = (มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) ) x อัตราค่าเสื่อมราคา
เมื่อคำนวณค่าเสื่อมราคาได้ ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบัน กิจการจะทำการบันทึกบัญชีดังนี้
เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxx

ตัวอย่างที่ 1. วันที่ 1 มกราคม 2541 ซื้อเครื่องจักรราคาทุน 120,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี ราคาขายซาก 20,000 บาท
ค่าเสื่อมราคาต่อปี = 120,000-20,000
5 ปี
= 20,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ธ.ค 31Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร


2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)
การคำนวณค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้จะเฉลี่ยต้นทุนขิงสินทรัพย์ ตามชั่วโมงทำงาน ที่กิจกรจะได้รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ดังนั้นค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะมีจำนวนไม่เท่ากัน เพราะอยู่กับชั่วโมงการทำงานของสินทรัพย์ในแต่ละปี ว่าใช้ชั่วโมงการทำงานมากหรือน้อย ดังนี้
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = ราคาทุน-ราคาซาก
ประมาณชั่วโมงการทำงาน
2. ค่าเสื่อมราคาต่อปี = อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง×จำนวนชั่วโมงการทำงานในแต่ละปี

ตัวอย่างที่ 2 จากโจทย์ที่ 1 สมมติว่าเครื่องจักรประมาณว่าจะใช้งานได้ 50,000 ชั่วโมง และกิจการเดินเครื่องจักรในแต่ละปี ดังนี้
ปี 2541 10,000 ชั่วโมง
ปี 2542 25,000 ชั่วโมง
การคำนวณ
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = 120,000-20,000
50,000
= 2 บาท
2. ค่าเสื่อมราคาแต่ละปี
ปี 2541 = 2×10,000
= 20,000 บาท
ปี 2542 = 2×25,000
= 50,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ปี 2541
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
ปี 2542
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 50,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 50,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: