2. กลวิธีด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Strategies) เป็นกลวิธีที่เกี การแปล - 2. กลวิธีด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Strategies) เป็นกลวิธีที่เกี อังกฤษ วิธีการพูด

2. กลวิธีด้านความรู้ความเข้าใจ (Cog

2. กลวิธีด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Strategies) เป็นกลวิธีที่เกี่ยวข้องกับวิธีการเรียนโดยเฉพาะ ซึ่งประกอบด้วยกลวิธีย่อย ดังนี้
2.1 การกระทำซ้ำๆ (Repetition) เป็นการฝึกปฏิบัติซ้ำๆ หรือการซ้ำทวนในใจ
2.2 การใช้แหล่งวิทยากร ( Resourcing) เป็นการใช้สื่อหรือเอกสารอ้างอิงเพื่อช่วยในการเรียนรู้
2.3 การแปล ( Translation) เป็นการใช้ภาษาแม่เป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจหรือสื่อความหมาย
2.4 การจัดกลุ่ม (Grouping) เป็นการจัดประเภทหรือจัดลำดับโดยพิจารณาจากคุณสมบัติที่มีลักษณะร่วมกัน
2.5 การจดบันทึก (Note-Taking) เป็นการจดบันทึกประเด็นสำคัญ เค้าโครงเรื่อง ข้อมูล ความรู้ที่เสนอ ในลักษณะเป็นคำพูดหรือการเขียน
2.6 การนิรนัย (Deductive) เป็นการใช้กฎหรือหลักการในการทำความเข้าใจ
2.7 การจินตนาการ ( Imagery) เป็นการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับภาพมโนทัศน์ในความจำ
2.8 การใช้คำสำคัญ ( Using Key Word) เป็นการจำคำใหม่ โดยเปรียบเทียบเสียงของคำที่เหมือนกับคำในภาษาแม่
2.9 การถ่ายโอน ( Transfer) เป็นการใช้ความรู้ด้านเนื้อหาภาษาที่ได้เรียนรู้มาก่อน ช่วยในการทำความเข้าใจกับความรู้ใหม่หรืองานที่ต้องทำให้สำเร็จลุล่วงไปได้
2.10 การอ้างอิง (Inferencing) เป็นการใช้ความรู้ที่มีอยู่ช่วยเดาความหมายสิ่งที่เรียนหรือเติมข้อมูลความรู้ในส่วนที่ขาดหายไป
3. กลวิธีด้านสังคม -จิตพิสัย (Social / Affective Strategies) เป็นกลวิธีที่เกี่ยวกับการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ในสังคม ประกอบด้วยกลวิธีย่อย ดังนี้
3.1 การร่วมมือ (Cooperation) เป็นการร่วมทำงานกับเพื่อนเพื่อที่จะได้รับข้อมูลป้อนกลับและข้อความรู้ร่วมกัน
3.2 การถามเพื่อความกระจ่าง (Question for Clarification) เป็นการถามครูหรือเจ้าของภาษาเพื่อขอให้พูดซ้ำ อธิบาย หรือยกตัวอย่างเมื่อไม่เข้าใจ
3.3 การพูดกับตนเอง (Self-Talk) เป็นการลดความวิตกกังวลด้วยเทคนิคต่างๆ ที่ทำให้รู้สึกว่ามีความสามารถในการเรียนได้ดี
Anita L. Wenden (1985: 4-7) ได้จัดประเภทของกลวิธีการเรียนรู้ภาษาไว้ 4 ด้าน ดังนี้
1. กลวิธีด้านความรู้ความคิด (Cognitive Strategies) เป็นวิธีการที่ผู้เรียนจัดการกับเนื้อหาที่เรียนให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้แล้วเก็บรักษาหรือสะสมสิ่งที่เรียนไว้เพื่อนำมาใช้ในภายหลัง และพัฒนาตนเองให้สามารถนำความรู้มาใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว กลวิธีต่างๆ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้านความรู้ความคิด ได้แก่ การเดาความหมายของประโยคหรือเนื้อเรื่อง การสร้างประโยคโดยใช้คำหรือสำนวนที่เรียนไว้ในใจแล้วทบทวนซ้ำๆ การจัดประเภท เป็นต้น
2. กลวิธีการสื่อสาร (Communication Strategies) เป็นการใช้วิธีการต่างๆ เพื่อสื่อความหมายเมื่อผู้เรียนเกิดปัญหาเนื่องจากขาดความรู้ทางภาษาโดยใช้วิธีการต่างๆ เพื่อให้การสื่อความหมายนั้นประสบความสำเร็จ เช่น การหลีกเลี่ยงการพูดหรือเขียนในหัวข้อที่ผู้เรียนไม่รู้ว่าจะใช้ภาษาอย่างไร การยืมคำจากภาษาแม่มาใช้ การแปล การอธิบายหรือบอกลักษณะของสิ่งของหรือกริยาท่าทางเมื่อไม่รู้ความหมายของสิ่งเหล่านั้น การสร้างคำใหม่ เป็นต้น
3.กลวิธีการฝึกฝนการใช้ภาษาโดยรวม (Global Practice Strategies) เป็นกลวิธีที่ผู้เรียนใช้ข้อมูลทางภาษาในสังคมที่แวดล้อมนั้นเพื่อหาโอกาสในการเรียนรู้ภาษาและพัฒนาการใช้ภาษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ข้อมูลทางภาษาในสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ผู้เรียนสามารถฝึกฝนการใช้ภาษา ได้แก่ เพื่อนร่วมชั้น กิจกรรมในชีวิตประจำวัน กิจกรรมในเวลาว่าง เป็นต้น
4.กลวิธีอภิปัญญา ( Metacognitive Strategies) เป็นวิธีการที่ผู้เรียนใช้ตรวจสอบ ควบคุมและชี้แนะตนเองในการเรียนภาษา ประกอบด้วยกลวิธีต่างๆ ดังนี้
4.1 การวางแผนในการเรียนรู้ (Planning) เป็นการกำหนดขั้นตอนต่างๆ เพื่อใช้แหล่งข้อมูลและกลวิธีเพื่อให้การเรียนรู้ภาษามีประสิทธิภาพ กำหนดจุดประสงค์และมาตรฐานเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ภาษาของตนเอง
4.2การตรวจสอบการเรียนรู้ภาษา (Monitoring) เป็นการตรวจสอบการใช้ภาษาของตนเอง หาสาเหตุของปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ภาษา และเรียนรู้จากข้อผิดพลาดของตนเอง
4.3 การประเมินผลการเรียนรู้ภาษา (Checking Outcomes) เป็นการที่ผู้เรียนเอาใจใส่ต่อผลที่เกิดจากความพยายามในการเรียนรู้และการใช้ภาษาของตนเอง เช่น การสังเกตเห็นว่าตนเองสามารถเรียนรู้คำศัพท์ได้จากการอ่านหนังสือพิมพ์ สามารถอธิบายและวาดภาพเพื่อสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ เป็นต้น
กล่าวโดยสรุป กลวิธีการเรียนรู้อาจแบ่งได้เป็นหลายกลวิธีตามแนวคิดของนักการศึกษาหรือนักวิจัยต่างๆ ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับกลวิธีการเรียนรู้ของ Oxford โดยแบ่งกลวิธีการเรียนรู้ออกเป็น 6 กลวิธี คือ กลวิธีทางตรง ได้แก่ 1) กลวิธีที่ใช้ความจำ 2) กลวิธีที่ใช้ความรู้ความเข้าใจ 3) กลวิธีที่ใช้การเสริมและการทดแทน และกลวิธีทางอ้อม ได้แก่ 4) กลวิธีที่ใช้อภิปัญญา 5) กลวิธีเชิงวิภาพ และ 6) กลวิธีทางสังคม








0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2. knowledge and understanding of the mechanism (Cognitive Strategies) is a strategy that involves students in particular, which contains sub-strategy. Is as follows: 2.1 the Act repeatedly (Repetition) is repeated, or duplicated walkthrough story in mind. 2.2 use of trainers (Resourcing) as source media or reference materials to help you learn. 2.3 translation (the Translation) is to use the native language as a basis for understanding or interpretation. 2.4 grouping (Grouping) is a classification or ranking based on properties that are similar together. 2.5 a note (Note-Taking) is to take note of important layout knowledge matters proposed in speech or writing. 2.6 the ninnai (Deductive) is a rule or principle in understanding. 2.7 the imagination (Imagery) is associated with vision in new knowledge required. 2.8 the use of keywords (Using Key Word) is to recognize new words by comparing the sound of the word is the same as the words in the native language. 2.9 transfer (Transfer) is to use knowledge of the content of language learned before. Help in understanding new knowledge or work that must be accomplished. 2.10. a reference (Inferencing) is to use existing knowledge to help guess what it means, what additional information or knowledge on the part that is missing.3. social-mental radar strategy (Social/Affective Strategies) are the tactics about how to use the language in different situations in the society consists of the following sub-strategy. 3.1. Cooperation (Cooperation) is a joint work with a friend to obtain feedback and knowledge sharing. 3.2 questions for clarity (Question for Clarification) is to ask a teacher or a native speaker to repeat. Description or example to understand. 3.3. Manual (Self-Talk) is the reduction of anxiety with the techniques that make it feel as if you have the ability to learn. Anita L. Wenden (1985:4-7) is a classification of the language learning strategy four:1. knowledge of the mechanism of thinking (Cognitive Strategies) is the method by which participants deal with content the benefit of learning to learn, retain or retained what is learning to apply at a later date and to be able to bring their knowledge, fluent. Strategies that encourage learners to learn knowledge conception: guess the meaning of the sentence or passage. Create a sentence using the word or idiom that has been repeatedly studied in the classification review, etc.2. the communication strategy (Communication Strategies) is used to describe when a problem occurs due to lack of knowledge of the language, using various methods to ensure the successful interpretation, for example, avoid saying or writing on a topic that participants do not know how to use a language? To borrow a Word from a native language used to translate. To explain or tell the nature of the thing or the verb seems to not know the meaning of those things. The creation of new words, etc.3. language training strategy (Global Practice Strategies) is a mechanism that learners use language information in the social environment, to look for opportunities to learn the language and develop a more efficient language. Language information in a social environment in which students can practice using the language: classmate of activities in daily life activities in free time, etc. 4.-intellectual debates (Metacognitive Strategies) strategy is the way that a user. Self control and guidance in learning the language consisting of various tactics: 4.1 learning plan (Planning) is to define the steps to take and strategies for effective language learning. Define the objectives and standards in order to assess the achievement of language learning from ourselves. 4.2 inspection learning languages (Monitoring) is to monitor the use of their language. Identify the cause of problems that undermine the learning of language and learning from their errors. 4.3 assessment of learning is that (Checking Outcomes), learner attention to consequences resulting from efforts to learn and to use their own language, for example, notice how the self can learn vocabulary from reading the newspaper. Be able to describe and draw pictures to convey others to understand, etc. กล่าวโดยสรุป กลวิธีการเรียนรู้อาจแบ่งได้เป็นหลายกลวิธีตามแนวคิดของนักการศึกษาหรือนักวิจัยต่างๆ ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับกลวิธีการเรียนรู้ของ Oxford โดยแบ่งกลวิธีการเรียนรู้ออกเป็น 6 กลวิธี คือ กลวิธีทางตรง ได้แก่ 1) กลวิธีที่ใช้ความจำ 2) กลวิธีที่ใช้ความรู้ความเข้าใจ 3) กลวิธีที่ใช้การเสริมและการทดแทน และกลวิธีทางอ้อม ได้แก่ 4) กลวิธีที่ใช้อภิปัญญา 5) กลวิธีเชิงวิภาพ และ 6) กลวิธีทางสังคม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2 strategies cognitive strategies (Cognitive Strategies) is associated with specific learning approach, which includes strategies to digest. :
2.1 action repeatedly (Repetition) is a practice repeatedly or repeat repeat in my heart
2.2 use of trainers (Resourcing) is the use of media, or references to help in learning
2.3 translation (Translation) is the use of the mother tongue is the basis to understand or meaningful
2.4 grouping (Grouping) is a classification or sequencing by considering the properties of common characteristics
2.5 note (Note-Taking) is a noted the plot, information, knowledge, the proposed in speech or writing style
2.6 deduction. (Deductive) is the use of rules or principles in understanding
2.7 imagination (Imagery) is a new concept in the knowledge integration with image memory
2.8 key words (Using Key Word) is a new word By comparing the sounds of words like in mother tongue
2.9 transfer (Transfer) is the use of language knowledge learned before. Help in understanding and new knowledge or work to accomplish through
2.10 reference (Inferencing) is to use existing knowledge to guess the meaning of what to learn or fill in the missing knowledge
3.Social strategies - affective (Social / Affective Strategies) is the strategies on language use in various situations in the society consists of sub strategies :
3.1 cooperate (Cooperation) is working with a friend to get feedback and text know mutual
3.2 asking for clarification (Question for Clarification). To ask the teacher or native speaker to have repeat, explain, or, for example, when you do not understand
3.3 Laryngismus (Self-Talk) reduce the anxiety with various techniques. That made me feel that is capable of learning well
Anita L. Wenden (1985: 4-7) classification of the language learning strategies 4 aspects. :
1.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: