เมื่อกล่าวถึงคำว่า “การสามัคคีธรรม” คนไทยคนส่วนใหญ่มักคิดถึง ความสามัค การแปล - เมื่อกล่าวถึงคำว่า “การสามัคคีธรรม” คนไทยคนส่วนใหญ่มักคิดถึง ความสามัค อังกฤษ วิธีการพูด

เมื่อกล่าวถึงคำว่า “การสามัคคีธรรม”

เมื่อกล่าวถึงคำว่า “การสามัคคีธรรม” คนไทยคนส่วนใหญ่มักคิดถึง ความสามัคคีปรองดอง การร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน หรือ การร่วมกันทำกิจกรรมทางศาสนา แต่ในทางคริสต์ศาสนศาสตร์ “การสามัคคีธรรม” (Fellowship) มีความหมายมากกว่าสิ่งเหล่านี้ เพราะหมายถึง “การเข้าส่วนในชีวิตเพื่อเสริมสร้างกันและกัน”

เปาโลกล่าวว่า “เนื่องจาก[พระคริสต์]นี้เอง ร่างกายทั้งหมดจึงได้รับการเชื่อมและประสานเข้าด้วยกันโดยทุกๆ ข้อต่อที่ประทานมานั้น และเมื่อแต่ละส่วนทำงานตามหน้าที่แล้ว ก็ทำให้ร่างกายเจริญและเสริมสร้างตนเองขึ้นด้วยความรัก” (เอเฟซัส 4:16 มาตรฐาน) ผู้เชื่อแต่ละคนเปรียบเหมือนอวัยวะของร่างกายที่แตกต่างกัน แต่แยกออกจากกันไม่ได้และต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้ร่างกายนั้นเติบโตขึ้น การสามัคคีธรรมจึงไม่ได้เป็นเพียงการร่วมกันทำบางสิ่งด้วยความสามัคคี พอเสร็จแล้วก็ต่างคนต่างไป แต่เป็นการที่ผู้เชื่อได้มีส่วนร่วมในชีวิตของกันและกันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเสริมสร้างซึ่งกันและกันในการดำเนินชีวิตและการทำพันธกิจตามพระประสงค์ของพระเจ้า

ภาพเปรียบเทียบที่ชัดเจนที่สุดก็คือ ฟืนหลายท่อนที่ติดไฟอยู่รวมกันจะสามารถให้ความร้อนได้เป็นระยะเวลานาน แต่หากเราดึงฟืนท่อนหนึ่งออกมา เปลวไฟของฟืนท่อนนั้นจะค่อยๆ มอดแล้วก็ดับลงในที่สุด สิ่งที่เหลือทิ้งไว้ก็คือฟืนท่อนหนึ่งที่ไม่สามารถจะให้ความอบอุ่นหรือแสงสว่างได้อีก ชีวิตคริสเตียนของเราก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่จะช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเรากับพระเจ้า ก็คือความสัมพันธ์ระหว่างเรากับคริสเตียนคนอื่นๆ และสิ่งที่จะช่วยให้เรารับใช้พระเจ้าได้อย่างเกิดผลมากขึ้น ก็คือการร่วมรับใช้กับคริสเตียนคนอื่นๆ ดังนั้น การสามัคคีธรรมจึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับชีวิตคริสเตียน



เราจะมีการสามัคคีธรรมที่แท้จริงได้อย่างไร?

การสามัคคีธรรมที่แท้จริงประกอบไปด้วยการกระทำ 2 ประการ คือ (1) การเข้าร่วม และ (2) การเข้าส่วน “การเข้าร่วม” มีความหมายตรงตัว คือ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนผู้เชื่อ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการนมัสการในเช้าวันอาทิตย์ หรือการเข้าร่วมกลุ่มย่อยต่างๆ เช่น กลุ่มเซล สตรี บุรุษ อนุชน ฯลฯ

อย่างไรก็ดี สิ่งที่สำคัญมากกว่าการเข้าร่วมก็คือ “การเข้าส่วน” ซึ่งหมายถึง “การเข้าส่วนในชีวิตเพื่อเสริมสร้างกันและกัน” เพราะนี่คือความหมายที่แท้จริงของการสามัคคีธรรม ดังนั้น หากเราเป็นคนหนึ่งที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนผู้เชื่อ แต่ยังไม่ได้ให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตของเรา หรือไม่มีส่วนร่วมในชีวิตของผู้อื่น ก็หมายความว่าเรายังขาดการสามัคคีธรรมที่แท้จริง เรากำลังเป็นเหมือนฟืนท่อนนั้นที่ถูกดึงออกมาจากฟืนท่อนอื่นๆ ซึ่งจะทำให้ไฟในชีวิตของเราค่อยๆ มอดลง หากเราไม่อยากเป็นเหมือนกับฟืนท่อนนั้น เราจำเป็นจะต้องมีการเข้าส่วนในชีวิตของกันและกันอย่างแท้จริง

เราสามารถเข้าส่วนในชีวิตเพื่อเสริมสร้างกันและกัน ผ่านการกระทำ 7 ประการที่ลงท้ายด้วยคำว่า “กันและกัน” ซึ่งหมายความว่า ผู้เชื่อแต่ละคนต้องเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ อีกทั้งร่วมกันทำให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในชุมชนของเรา

1. รักกันและกัน“คำบัญชาของเราก็คือ จงรักซึ่งกันและกันเหมือนที่เราได้รักพวกท่าน” (ยอห์น 15:12 อมตธรรมร่วมสมัย)

หากปราศจากความรัก ผู้คนในชุมชนจะต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทำ เมื่อเสร็จกิจกรรมแล้วก็ต่างคนต่างไป งานอาจจะเสร็จเรียบร้อย แต่ชีวิตของแต่ละคนยังเป็นเหมือนเดิม หรือบางครั้งอาจจะแย่ลงเพราะต้องเผชิญกับความเหนื่อยล้าหรือท้อใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับงานหรือเพื่อนร่วมงาน ด้วยเหตุนี้ สิ่งแรกที่พระเยซูบัญชาเหล่าสาวกของพระองค์จึงไม่ได้เป็นการให้พวกเขาออกไปทำบางสิ่งบางอย่าง แต่ให้พวกเขา “รักกันและกัน” เหมือนที่พระองค์ทรงรักพวกเขา ซึ่งไม่ได้เป็นความรักในแง่ของอารมณ์ความรู้สึกเท่านั้น แต่เป็นความปรารถนาดีที่มีให้กับผู้อื่นด้วยความจริงใจ เป็นการพร้อมที่จะเป็นผู้ให้เพื่อให้อีกฝ่ายมีชีวิตที่ดีขึ้น หากเรารักกันและกัน ชุมชนของเราย่อมมีบรรยากาศที่ดี เป็นชุมชนที่น่าอยู่ น่าทำงาน และเราก็จะสามารถช่วยเหลือซึ่งกันและกันให้เติบโตขึ้น มีชีวิตที่สะท้อนความดีงามของพระเจ้ามากขึ้น และรับใช้พระเจ้าได้อย่างเกิดผลมากขึ้นต่อไป

2. ห่วงใยกันและกัน “เพื่อจะไม่มีการแตกแยกกันในร่างกาย แต่เพื่อให้อวัยวะต่างๆ ห่วงใยกันอย่างเท่าเทียมกัน” (1 โครินธ์ 12:25 อมตธรรมร่วมสมัย)

พระคัมภีร์ข้อนี้ชี้ให้เห็นว่า หากเราปรารถนาจะเข้าส่วนในชีวิตของกันและกัน เราจำเป็นจะต้อง “ห่วงใยกันและกัน” แทนที่จะ “แตกแยก หรือ แก่งแย่งแข่งขัน” มนุษย์เรามีแนวโน้มที่จะเอาตัวเองเป็นที่ตั้ง เราสนใจความรู้สึกและผลประโยชน์ของตนเองมากกว่าของผู้อื่น เมื่อเราเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ก็มักจะคิดว่าตนเองจะได้รับอะไรบ้าง สิ่งที่ตามมาก็คือ เรารู้สึกโดดเดี่ยวท่ามกลางฝูงชนที่แต่ละคนสาละวนอยู่กับเรื่องของตนเอง นี่คือปัญหาที่เกิดขึ้นในคริสตจักรโครินธ์ ซึ่งส่งผลให้พวกเขาพลาดโอกาสที่จะเสริมสร้างกันและกัน ดังนั้น อ.เปาโล จึงบอกให้พวกเขาหันมาสนใจและห่วงใยคนอื่นๆ ให้มากขึ้น เพื่อที่พวกเขาจะมีสามัคคีธรรมที่แท้จริงได้ในชีวิตของเราทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน หากเราเรียนรู้ที่จะสนใจตัวเองให้น้อยลง และห่วงใยคนอื่นๆ ให้มากขึ้น เราจะสามารถสร้างชุมชนที่อบอุ่นมากขึ้น

3. รับใช้กันและกัน “จงช่วยรับภาระของกันและกัน ทำดังนี้แล้วท่านก็ได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระคริสต์ (กาลาเทีย 6:2 อมตธรรมร่วมสมัย)

การสามัคคีธรรมที่แท้จริงจะไม่หยุดอยู่เพียงแค่ความห่วงใย แต่จะสำแดงออกมาเป็นการกระทำ การรับภาระซึ่งกันและกัน คือ การรับใช้ หรือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านต่างๆ ของชีวิต ภาพของมดตัวเล็กๆ ที่ช่วยกันแบกภาระที่ใหญ่เกินตัว ช่วยให้เราเข้าใจพระคัมภีร์ข้อนี้มากขึ้น พระเจ้าไม่ต้องการให้ผู้เชื่อแต่ละคนเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เพียงลำพัง พระองค์จึงทรงให้เราอยู่ในชุมชนแห่งความเชื่อเพื่อให้เรารับภาระซึ่งกันและกันดังนั้น ขอให้เราห่วงใยและช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการอธิษฐานเผื่อ การแบ่งปันให้กับผู้ที่มีความต้องการจำเป็น หรือการช่วยเหลือผู้อื่นด้วยการกระทำ เพื่อที่แต่ละคนจะสามารถเอาชนะอุปสรรคปัญหาที่ใหญ่เกินกว่าที่ตนเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
When it comes to the term "the Fellowship," he said. Thai people, most people tend to think about unity roadmap. To join together, to share, or religious activity, but in a way the "theological Christian Fellowship" (Fellowship) these things more meaningful because it means "to best in life to reinforce each other," he said.In Sao Paulo the world said "Because [the Christ] himself. All the bodies have been welding and weld together once and for all. The joints have come, and when each part is working according to the Act, then it makes the body grow and strengthen ourselves up with love "(Ephesians 4: 16 standard) compare individual believers, like organs of the body that are different but not separate, and must work together to.The body grows The Fellowship, it is not just something done together with harmony completed enough person, but as a believer has to participate in the life of each other on a regular basis. In order to strengthen each other in the life and Ministry of God's will.The most obvious comparisons is that many of the logs, firewood is combustible combination is capable of providing heat for long periods of time, but if we pull out one of the logs, firewood, Flames of firewood, logs, then gradually extinguish and then down to die out in the end. What's left behind is one of the logs, firewood is not able to provide warmth or light again. Our Christian life, as well. What will help improve relations between us and God. It is the relationship between Christianity and other people with something that will help us to serve God more and more effective manner. It is a joint service with other people, so Christian. The Fellowship, it is indispensable for the Christian life. We are a true Fellowship, what should I do?The fellowship consists of an authentic Act is 2 (1) and (2) to attend to attend the "participant" means a participating community activities is a believer, regardless of whether it is to attend worship on Sunday morning, or to participate in various subgroups, such as groups of pixels. Women's monument, etc.However, What is more important is to participate in a "mostly", which means "to best in life to reinforce each other," he said. Because this is the true meaning of the fellowship. If we as a people have joined the activities of the community of believers, but not for others to come and participate in our lives or do not participate in the lives of others, it means that we still lack a true Fellowship. We are like firewood, logs that were drawn from the other logs, firewood, which will cause the lights to flicker out effect in our lives. If we do not want to be like the firewood logs, so we need to have access to the best in each other's lives and truly.We can access the best in life to strengthen each other through action 7 reasons that end with the word "and", which means that each believer must be both provider and recipient. All together make these things happen in our community.1. love each other "the commandment of our love to each other as we love you" (John 15: 12-contemporary totrarom)หากปราศจากความรัก ผู้คนในชุมชนจะต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทำ เมื่อเสร็จกิจกรรมแล้วก็ต่างคนต่างไป งานอาจจะเสร็จเรียบร้อย แต่ชีวิตของแต่ละคนยังเป็นเหมือนเดิม หรือบางครั้งอาจจะแย่ลงเพราะต้องเผชิญกับความเหนื่อยล้าหรือท้อใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับงานหรือเพื่อนร่วมงาน ด้วยเหตุนี้ สิ่งแรกที่พระเยซูบัญชาเหล่าสาวกของพระองค์จึงไม่ได้เป็นการให้พวกเขาออกไปทำบางสิ่งบางอย่าง แต่ให้พวกเขา “รักกันและกัน” เหมือนที่พระองค์ทรงรักพวกเขา ซึ่งไม่ได้เป็นความรักในแง่ของอารมณ์ความรู้สึกเท่านั้น แต่เป็นความปรารถนาดีที่มีให้กับผู้อื่นด้วยความจริงใจ เป็นการพร้อมที่จะเป็นผู้ให้เพื่อให้อีกฝ่ายมีชีวิตที่ดีขึ้น หากเรารักกันและกัน ชุมชนของเราย่อมมีบรรยากาศที่ดี เป็นชุมชนที่น่าอยู่ น่าทำงาน และเราก็จะสามารถช่วยเหลือซึ่งกันและกันให้เติบโตขึ้น มีชีวิตที่สะท้อนความดีงามของพระเจ้ามากขึ้น และรับใช้พระเจ้าได้อย่างเกิดผลมากขึ้นต่อไป2. care of each other. "So there will be no different as separate bodies, but to various organs, and cares for each other equally" (1 Corinthians 12: 25 totrarom-contemporary)พระคัมภีร์ข้อนี้ชี้ให้เห็นว่า หากเราปรารถนาจะเข้าส่วนในชีวิตของกันและกัน เราจำเป็นจะต้อง “ห่วงใยกันและกัน” แทนที่จะ “แตกแยก หรือ แก่งแย่งแข่งขัน” มนุษย์เรามีแนวโน้มที่จะเอาตัวเองเป็นที่ตั้ง เราสนใจความรู้สึกและผลประโยชน์ของตนเองมากกว่าของผู้อื่น เมื่อเราเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ก็มักจะคิดว่าตนเองจะได้รับอะไรบ้าง สิ่งที่ตามมาก็คือ เรารู้สึกโดดเดี่ยวท่ามกลางฝูงชนที่แต่ละคนสาละวนอยู่กับเรื่องของตนเอง นี่คือปัญหาที่เกิดขึ้นในคริสตจักรโครินธ์ ซึ่งส่งผลให้พวกเขาพลาดโอกาสที่จะเสริมสร้างกันและกัน ดังนั้น อ.เปาโล จึงบอกให้พวกเขาหันมาสนใจและห่วงใยคนอื่นๆ ให้มากขึ้น เพื่อที่พวกเขาจะมีสามัคคีธรรมที่แท้จริงได้ในชีวิตของเราทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน หากเราเรียนรู้ที่จะสนใจตัวเองให้น้อยลง และห่วงใยคนอื่นๆ ให้มากขึ้น เราจะสามารถสร้างชุมชนที่อบอุ่นมากขึ้น3. get used to each other. "You shall help to get your task done as follows, and then he acted in accordance with the provisions of Christ (Galatians 6: 2-contemporary totrarom)การสามัคคีธรรมที่แท้จริงจะไม่หยุดอยู่เพียงแค่ความห่วงใย แต่จะสำแดงออกมาเป็นการกระทำ การรับภาระซึ่งกันและกัน คือ การรับใช้ หรือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านต่างๆ ของชีวิต ภาพของมดตัวเล็กๆ ที่ช่วยกันแบกภาระที่ใหญ่เกินตัว ช่วยให้เราเข้าใจพระคัมภีร์ข้อนี้มากขึ้น พระเจ้าไม่ต้องการให้ผู้เชื่อแต่ละคนเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เพียงลำพัง พระองค์จึงทรงให้เราอยู่ในชุมชนแห่งความเชื่อเพื่อให้เรารับภาระซึ่งกันและกันดังนั้น ขอให้เราห่วงใยและช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการอธิษฐานเผื่อ การแบ่งปันให้กับผู้ที่มีความต้องการจำเป็น หรือการช่วยเหลือผู้อื่นด้วยการกระทำ เพื่อที่แต่ละคนจะสามารถเอาชนะอุปสรรคปัญหาที่ใหญ่เกินกว่าที่ตนเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เมื่อกล่าวถึงคำว่า “การสามัคคีธรรม” คนไทยคนส่วนใหญ่มักคิดถึง ความสามัคคีปรองดอง การร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน หรือ การร่วมกันทำกิจกรรมทางศาสนา แต่ในทางคริสต์ศาสนศาสตร์ “การสามัคคีธรรม” (Fellowship) มีความหมายมากกว่าสิ่งเหล่านี้ เพราะหมายถึง “การเข้าส่วนในชีวิตเพื่อเสริมสร้างกันและกัน”

เปาโลกล่าวว่า “เนื่องจาก[พระคริสต์]นี้เอง ร่างกายทั้งหมดจึงได้รับการเชื่อมและประสานเข้าด้วยกันโดยทุกๆ ข้อต่อที่ประทานมานั้น และเมื่อแต่ละส่วนทำงานตามหน้าที่แล้ว ก็ทำให้ร่างกายเจริญและเสริมสร้างตนเองขึ้นด้วยความรัก” (เอเฟซัส 4:16 มาตรฐาน) ผู้เชื่อแต่ละคนเปรียบเหมือนอวัยวะของร่างกายที่แตกต่างกัน แต่แยกออกจากกันไม่ได้และต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้ร่างกายนั้นเติบโตขึ้น การสามัคคีธรรมจึงไม่ได้เป็นเพียงการร่วมกันทำบางสิ่งด้วยความสามัคคี พอเสร็จแล้วก็ต่างคนต่างไป แต่เป็นการที่ผู้เชื่อได้มีส่วนร่วมในชีวิตของกันและกันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเสริมสร้างซึ่งกันและกันในการดำเนินชีวิตและการทำพันธกิจตามพระประสงค์ของพระเจ้า

ภาพเปรียบเทียบที่ชัดเจนที่สุดก็คือ ฟืนหลายท่อนที่ติดไฟอยู่รวมกันจะสามารถให้ความร้อนได้เป็นระยะเวลานาน แต่หากเราดึงฟืนท่อนหนึ่งออกมา เปลวไฟของฟืนท่อนนั้นจะค่อยๆ มอดแล้วก็ดับลงในที่สุด สิ่งที่เหลือทิ้งไว้ก็คือฟืนท่อนหนึ่งที่ไม่สามารถจะให้ความอบอุ่นหรือแสงสว่างได้อีก ชีวิตคริสเตียนของเราก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่จะช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเรากับพระเจ้า ก็คือความสัมพันธ์ระหว่างเรากับคริสเตียนคนอื่นๆ และสิ่งที่จะช่วยให้เรารับใช้พระเจ้าได้อย่างเกิดผลมากขึ้น ก็คือการร่วมรับใช้กับคริสเตียนคนอื่นๆ ดังนั้น การสามัคคีธรรมจึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับชีวิตคริสเตียน



เราจะมีการสามัคคีธรรมที่แท้จริงได้อย่างไร?

การสามัคคีธรรมที่แท้จริงประกอบไปด้วยการกระทำ 2 ประการ คือ (1) การเข้าร่วม และ (2) การเข้าส่วน “การเข้าร่วม” มีความหมายตรงตัว คือ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนผู้เชื่อ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการนมัสการในเช้าวันอาทิตย์ หรือการเข้าร่วมกลุ่มย่อยต่างๆ เช่น กลุ่มเซล สตรี บุรุษ อนุชน ฯลฯ

อย่างไรก็ดี สิ่งที่สำคัญมากกว่าการเข้าร่วมก็คือ “การเข้าส่วน” ซึ่งหมายถึง “การเข้าส่วนในชีวิตเพื่อเสริมสร้างกันและกัน” เพราะนี่คือความหมายที่แท้จริงของการสามัคคีธรรม ดังนั้น หากเราเป็นคนหนึ่งที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนผู้เชื่อ แต่ยังไม่ได้ให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตของเรา หรือไม่มีส่วนร่วมในชีวิตของผู้อื่น ก็หมายความว่าเรายังขาดการสามัคคีธรรมที่แท้จริง เรากำลังเป็นเหมือนฟืนท่อนนั้นที่ถูกดึงออกมาจากฟืนท่อนอื่นๆ ซึ่งจะทำให้ไฟในชีวิตของเราค่อยๆ มอดลง หากเราไม่อยากเป็นเหมือนกับฟืนท่อนนั้น เราจำเป็นจะต้องมีการเข้าส่วนในชีวิตของกันและกันอย่างแท้จริง

เราสามารถเข้าส่วนในชีวิตเพื่อเสริมสร้างกันและกัน ผ่านการกระทำ 7 ประการที่ลงท้ายด้วยคำว่า “กันและกัน” ซึ่งหมายความว่า ผู้เชื่อแต่ละคนต้องเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ อีกทั้งร่วมกันทำให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในชุมชนของเรา

1. รักกันและกัน“คำบัญชาของเราก็คือ จงรักซึ่งกันและกันเหมือนที่เราได้รักพวกท่าน” (ยอห์น 15:12 อมตธรรมร่วมสมัย)

หากปราศจากความรัก ผู้คนในชุมชนจะต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทำ เมื่อเสร็จกิจกรรมแล้วก็ต่างคนต่างไป งานอาจจะเสร็จเรียบร้อย แต่ชีวิตของแต่ละคนยังเป็นเหมือนเดิม หรือบางครั้งอาจจะแย่ลงเพราะต้องเผชิญกับความเหนื่อยล้าหรือท้อใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับงานหรือเพื่อนร่วมงาน ด้วยเหตุนี้ สิ่งแรกที่พระเยซูบัญชาเหล่าสาวกของพระองค์จึงไม่ได้เป็นการให้พวกเขาออกไปทำบางสิ่งบางอย่าง แต่ให้พวกเขา “รักกันและกัน” เหมือนที่พระองค์ทรงรักพวกเขา ซึ่งไม่ได้เป็นความรักในแง่ของอารมณ์ความรู้สึกเท่านั้น แต่เป็นความปรารถนาดีที่มีให้กับผู้อื่นด้วยความจริงใจ เป็นการพร้อมที่จะเป็นผู้ให้เพื่อให้อีกฝ่ายมีชีวิตที่ดีขึ้น หากเรารักกันและกัน ชุมชนของเราย่อมมีบรรยากาศที่ดี เป็นชุมชนที่น่าอยู่ น่าทำงาน และเราก็จะสามารถช่วยเหลือซึ่งกันและกันให้เติบโตขึ้น มีชีวิตที่สะท้อนความดีงามของพระเจ้ามากขึ้น และรับใช้พระเจ้าได้อย่างเกิดผลมากขึ้นต่อไป

2. ห่วงใยกันและกัน “เพื่อจะไม่มีการแตกแยกกันในร่างกาย แต่เพื่อให้อวัยวะต่างๆ ห่วงใยกันอย่างเท่าเทียมกัน” (1 โครินธ์ 12:25 อมตธรรมร่วมสมัย)

พระคัมภีร์ข้อนี้ชี้ให้เห็นว่า หากเราปรารถนาจะเข้าส่วนในชีวิตของกันและกัน เราจำเป็นจะต้อง “ห่วงใยกันและกัน” แทนที่จะ “แตกแยก หรือ แก่งแย่งแข่งขัน” มนุษย์เรามีแนวโน้มที่จะเอาตัวเองเป็นที่ตั้ง เราสนใจความรู้สึกและผลประโยชน์ของตนเองมากกว่าของผู้อื่น เมื่อเราเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ก็มักจะคิดว่าตนเองจะได้รับอะไรบ้าง สิ่งที่ตามมาก็คือ เรารู้สึกโดดเดี่ยวท่ามกลางฝูงชนที่แต่ละคนสาละวนอยู่กับเรื่องของตนเอง นี่คือปัญหาที่เกิดขึ้นในคริสตจักรโครินธ์ ซึ่งส่งผลให้พวกเขาพลาดโอกาสที่จะเสริมสร้างกันและกัน ดังนั้น อ.เปาโล จึงบอกให้พวกเขาหันมาสนใจและห่วงใยคนอื่นๆ ให้มากขึ้น เพื่อที่พวกเขาจะมีสามัคคีธรรมที่แท้จริงได้ในชีวิตของเราทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน หากเราเรียนรู้ที่จะสนใจตัวเองให้น้อยลง และห่วงใยคนอื่นๆ ให้มากขึ้น เราจะสามารถสร้างชุมชนที่อบอุ่นมากขึ้น

3. รับใช้กันและกัน “จงช่วยรับภาระของกันและกัน ทำดังนี้แล้วท่านก็ได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระคริสต์ (กาลาเทีย 6:2 อมตธรรมร่วมสมัย)

การสามัคคีธรรมที่แท้จริงจะไม่หยุดอยู่เพียงแค่ความห่วงใย แต่จะสำแดงออกมาเป็นการกระทำ การรับภาระซึ่งกันและกัน คือ การรับใช้ หรือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านต่างๆ ของชีวิต ภาพของมดตัวเล็กๆ ที่ช่วยกันแบกภาระที่ใหญ่เกินตัว ช่วยให้เราเข้าใจพระคัมภีร์ข้อนี้มากขึ้น พระเจ้าไม่ต้องการให้ผู้เชื่อแต่ละคนเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เพียงลำพัง พระองค์จึงทรงให้เราอยู่ในชุมชนแห่งความเชื่อเพื่อให้เรารับภาระซึ่งกันและกันดังนั้น ขอให้เราห่วงใยและช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการอธิษฐานเผื่อ การแบ่งปันให้กับผู้ที่มีความต้องการจำเป็น หรือการช่วยเหลือผู้อื่นด้วยการกระทำ เพื่อที่แต่ละคนจะสามารถเอาชนะอุปสรรคปัญหาที่ใหญ่เกินกว่าที่ตนเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
When referring to the word "fellowship" Thai people usually think of harmony and reconciliation, cooperation work or to do religious activities. But in Christian theology. "Fellowship" (Fellowship).It means "to the life to reinforce each other."
.
.He said, "because [Christ]. The whole body welding and brazing has been together by every joints that are given, and each section of work duties.(Ephesians 4:16 standard) who believe each person is different body organs. But not separated from each other and must work together to keep the body grows.I'm just walks away. But the believers have been involved in each other's lives. To strengthen each other in life and do the mission according to the will of God
.
.The most obvious is the image comparison Many pieces of wood on fire in combination can be heated for a long period of time. But if we pull the wood pieces one out. The flame of the wood pieces will burn down and burned down eventually.The Christian life is the same. What will help to develop a personal relationship with God. It is our relationship with Christian people. And what will help us serve God can bring forth more and more.Therefore, it is indispensable for the fellowship of Christian life
.


we have true Fellowship?

.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: