สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอาหาร1. สารปรุงแต่งและถนอมอาหารสารเคมีเรียก การแปล - สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอาหาร1. สารปรุงแต่งและถนอมอาหารสารเคมีเรียก อังกฤษ วิธีการพูด

สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอาหาร1.

สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอาหาร
1. สารปรุงแต่งและถนอมอาหาร
สารเคมีเรียกว่า วัตถุเจือปนในอาหาร (Food additive) ซี่งหมายถึงสารที่โดยปกติแล้วไม่ บริโภคเป็นอาหาร และไม่ใช้เป็นส่วนผสมของอาหารธรรมดา แต่เป็นสารที่เติมในอาหารเพื่อวัตถุ ประสงค์ทางด้านของกรรมวิธีการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เพื่อวัตถุประสงค์แต่งรส เพิ่ม ความคงตัว กันบูด กันเสีย กันหืน เป็นต้น แบ่งเป็นหลายประเภทดังนี้
สารปรุงแต่งสี (Coloring agents) มีสีหลายชนิดที่ใส่ในอาหารทําให้เกิดอาการแพ้ โดย เฉพาะสีสังเคราะห์ คือมีอาการช้ำตามผิวหนัง และสีบางชนิดทําให้เกิดมะเร็ง
สีที่เป็นพิษ และไม่ควรนํามาเจือปนในอาหารและเครื่องดื่ม คือ สีที่มีสารอนินทรีย์ที่มีโลหะ หนักเป็นองค์ประกอบ สีเหล่านี้มักมีราคาถูก ใช้เพื่อย้อมวัตถุต่าง ๆ สารปรุงแต่งรส ได้แก่ สารรสหวาน (Sweetener) เช่น โซเดียมซัยคลาเมท และซัคคารีน (Saccharin) หรือขันฑสกร เป็นสารรสหวานหรือน้ำตาลเทียมที่ใช้กันมานาน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2512 พบว่าการใช้สารซัยคลาเมท (Cyclamate) ในอาหารและเครื่องดื่ม อาจทําให้เป็นมะเร็ง เพราะ พบว่าทําให้เกิดมะเร็งในหนูได้ ส่วนขันฑสกร หรือ ซัคคารีน เป็นสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) อย่าง อ่อน (ดูตารางที่ 4-4) แต่ในปัจจุบันได้มีการใช้สารให้ความหวานชนิดอื่น คือ มีการสังเคราะห์แอส ปาเทม (Aspatame) ซึ่งเป็นกรดอะมิโน 2 ตัว และมีสารธรรมชาติ สเตวีโอไซด์ (Steveoside) จาก หญ้าหวาน (Stevia rebaudiana Bernoti) ซึ่งหวานกว่าน้ำตาล 150 -200 เท่า แอมปาร์เทม และสเตวี- โอไซด. ไม่ให้พลังงานเช่นเดียวกับซัคคารีน นอกจากนี้ยังมีสารปรุงแต่งรสอีกชนิดหนึ่ง ได้แก่ สารชูรส (Flavoring agents) สารชูรสมีการใช้อย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มรสชาดและกลิ่นในอาหาร ที่รู้ จักกันดี คือ ผงชูรส หรือโมโนโซเดียมกลูตาเมต หรือ เอมเอสจี (MSG) รวมทั้งน้ำมันหอมระเหย ต่าง ๆ เช่น กลิ่นอบเชย (Cinnamon) กลิ่นกล้วยและวานิลา ผงชูรสเป็นสารที่มีการศึกษาวิจัยและ ถกเถียงกันมากถึงผลเสียที่อาจมีต่อสุขภาพ จากการทดลองในหนูพบว่าเป็นพิษต่อลูกหนู จึงห้ามใช้ ในอาหารทารก และห้ามสตรีมีครรภ์รับประทาน ผู้ใหญ่บางคนก็เกิดอาการแพ้ผงชูรส เช่น อาการ ชาลิ้น ชาตามไหล่ ต้นคอ และบางคนถึงหมดสติ อาการเช่นนี้เรียกว่า Chinese restaurant syndrome สารปรุงแต่งลักษณะ ได้แก่สารเคมีที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะบางอย่างในอาหาร เช่น ทําให้เกิดความเหนียวหนืด ความกรอบ ความเปื่อยยุ่ย ความเป็นเนื้อเดียวกัน เป็นต้นผงกรอบ หรือบอแรกซ์ หรือสารที่ใช้ทําน้ำประสานทอง เป็นสารพิษกินไม่ได้ แต่ก็มีการนํามาใช้ในอาหาร เช่น ทําลูกชิ้น ทับทิมกรอบ กล้วยทอด ซึ่งถ้ากินบ่อย ๆ จะสะสมเป็นพิษต่อไต นอกจากนี้ยังมีน้ำ ส้มที่ใช้ปรุงรสอาหาร ที่ปกติจะใช้น้ำส้มสายชูที่ประกอบด้วยกรดอะซีติก ซึ่งได้จากการหมักผลไม้ ด้วยยีสต์ หรือกลั่นตามกรรมวิธีในอุตสาหกรรม แต่บางครั้งมีการใช้น้ำส้มที่เตรียมจากกรดอนินทรีย์ เช่น กรดกํามะถัน กรดเกลือ ซึ่งเป็นกรดแก่ มีความเป็นกรดรุนแรง อาจทําลายระบบทางเดินอาหาร ได้สารปรุงแต่งกลิ่น (Flavoring compound) เป็นสารกลุ่มใหญ่ที่สุดที่ถูกนํามาผสมอาหาร ตัวอย่างสารปรุงแต่งกลิ่นที่รู้จักกันดีและใช้กันมากทั้งในอาหารและเครื่องสําอาง ได้แก่ Cinnnaldehyde ซึ่งใช้แทนกลิ่นอบเชย Vanillin ใช้แทนกลิ่นวานิลลา Citral จากน้ำมันตะไคร้หอม ใช้แทนกลิ่นมะนาว Furfuryl mercaptan ใช้แทนกลิ่นของกาแฟ Alpha ronone ใช้แทนกลิ่น สตรอเบอรีและราสเบอรี Propyldisulfide ใช้แทนกลิ่นหัวหอม และ Ethyl-trans-2-cis-4-decadienoate ใช้แทนกลิ่นลูกแพร่ เป็นต้น เป็นที่น่าสังเกตว่า สารปรุงแต่งกลิ่นจะต้องมีคุณสมบัติ ระเหยได้ดี มีโมเลกุลเล็กๆ และเป็นสารพวกแอลดีไฮด์ คีโตน หรือแอลกอออล์ จาการศึกษาที่ผ่านมาปรากฏว่า สารแต่งกลิ่นในอาหารยังไม่เป็นพิษร้ายแรง แต่สารปรุงแต่ง กลิ่นในเครื่องสําอาง เช่น น้ำหอม มักทําให้เกิดอาการแพ้บ่อยๆ สารกันบูดและสารกันหืน (Preservatives and antioxdant) สารกลุ่มนี้มีจํานวนมากและใช้ อย่างกว้างขวางในอาหาร เครื่องดื่ม ยา และเครื่องสําอาง สารกันบูดใช้ฆ่าและป้องกันการเจริญ เติบ โตของแบคทีเรีย สารกันหืนเป็นสารป้องกันปฏิกิริยาออกซิแดนต์ และทําให้เกิดกลิ่นที่ไม่พึง ประสงค์ สารกันบูดและสารกันหืนที่ใช้กันมาก เช่น เกลือ น้ำตาล กรดเบนโซอิค โซเดียมเบนโซเอต ฟอร์มาลดีไฮด์ พาราบีน เฮกซาคลอโรฟีน กรดบอริค บีเอชเอ (BHA -butylated hydroxylanisole) บีเอชที (BHT - butylated hydroxytoluene) โปรปัลกัลเลต และดินประสิว หรือเกลือของโซเดียม ไนเตรตและโซเดียมไนไตรต์ เป็นต้น สารเหล่านี้บางชนิดอาจเป็นสารก่อมะเร็ง และควรมีการ ควบคุมการใช้ ตัวอย่างสารบางชนิดตามตารางที่ 4-4 สารที่มีการใช้กันมากในอาหารหลายชนิดที่ บริโภคกันเสมอ คือ ดินประสิว ซึ่งใส่อาหารแปรรูปพวกเนื้อสัตว์เพื่อกันบูด และทําให้เนื้อสัตว์มีสี สวย และเนื้อสัตว์เปื่อย เช่น ไส้กรอก แฮม กุนเชียง แหนม ปลากระป๋อง เนื้อเค็มแห้ง ปลาร้า เป็นต้น ดินประสิวจะเปลี่ยนเป็นสารพิษได้เมื่อมีการรวมตัวกับโปรตีนพวกเอมีน (amine) ในเนื้อ สัตว.เกิดสารไนโตรซามีน (Nitrosamine) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ เช่น มะเร็งตับ ไต ปอด ทาง เดินอาหาร และกระเพาะอาหาร

2. สารเจือปนหรือสารปนเปื่อนในอาหาร
สารเจือปนหรือสารปนเปื่อนในอาหาร แบ่งเป็น 2ประเภท ได้แก่
2.1 สารที่เกิดจากกระบวนการผลิต การบรรจุและการปรุงอาหาร ได้แก่ สารที่ใส่ใน กระบวนการผลิตอาหาร เช่น สารทําให้เป็นเนื้อเดียวกัน (emulsifier) เช่น เลซิติน (lecithin) โปรไพลีนไกลคอล (propylene glycol) หรือสารที่ทําให้เกิดการคงตัว หรือมีความหนืด เช่น กัมอราบิค (gum arabic) เจลาติน (gelatin) วุ.นสกัดจากสาหร่าย สารบางชนิดเกิดจากการละลายของ
ภาชนะบรรจุอาหารและเป็นพิษต่อร่างกาย ภาชนะบรรจุที่มีสารพีวีซี (PVC = polyvinyl chloride) เช่น ถุงพลาสติก ขวดบรรจุน้ำมันพืช สารพวกนี้จะละลายออกมาอยู่ในอาหาร ถ้าเกินเกณฑ์ที่ ปลอดภัยคือ 0.05 ppm ก็จะเป็นสารพิษ ก่อให้เกิดมะเร็งได้ นอกจากนี้ยังมีสารไพโรลัยเซท (pyrolysates) ซึ่งคือสารที่เกิดจากการเผา ย่างอาหารโปรตีน เช่น เนื้อสัตว์ จนเกรียมไหม้ จะเกิด สารไพโรลัยเซทขึ้น ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
2.2 สารพิษจากเชื้อรา และแบคทีเรีย เป็นสารที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึมของ แบคทีเรีย และเชื้อราเอง เช่น
- สารอะฟลาทอกซิน (aflatoxin) ซึ่งเป็นสารที่ได้จากเชื้อราที่พบในอาหารแห้ง เช่น กุ้งแห้ง พริกแห้ง กระเทียม หอม ถ้าได้รับพิษมากๆ อาจเสียชีวิตทันที แต่ถ้าสะสมนานๆ ก่อให้ เกิดมะเร็ง
- สารพิษโบทูลิน เกิดจากเชื้อแบ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The causes and effects of food pollution1. chemical and food additiveChemicals called additives in food (Food additive), Sy ngamai to substances not consumed as food normally and is not used as an ingredient of a food plain but the food is in the purpose of the production process in the food industry such as marriage purposes, flavor. Add stability... huen spoiled, etc. Divided into several categories, as follows:Chemical additive (Coloring agents) has several kinds of colors in food can also cause an allergic reaction, especially synthetic colors are symptoms of skin color, according to cham, and some cause cancer. สีที่เป็นพิษ และไม่ควรนํามาเจือปนในอาหารและเครื่องดื่ม คือ สีที่มีสารอนินทรีย์ที่มีโลหะ หนักเป็นองค์ประกอบ สีเหล่านี้มักมีราคาถูก ใช้เพื่อย้อมวัตถุต่าง ๆ สารปรุงแต่งรส ได้แก่ สารรสหวาน (Sweetener) เช่น โซเดียมซัยคลาเมท และซัคคารีน (Saccharin) หรือขันฑสกร เป็นสารรสหวานหรือน้ำตาลเทียมที่ใช้กันมานาน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2512 พบว่าการใช้สารซัยคลาเมท (Cyclamate) ในอาหารและเครื่องดื่ม อาจทําให้เป็นมะเร็ง เพราะ พบว่าทําให้เกิดมะเร็งในหนูได้ ส่วนขันฑสกร หรือ ซัคคารีน เป็นสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) อย่าง อ่อน (ดูตารางที่ 4-4) แต่ในปัจจุบันได้มีการใช้สารให้ความหวานชนิดอื่น คือ มีการสังเคราะห์แอส ปาเทม (Aspatame) ซึ่งเป็นกรดอะมิโน 2 ตัว และมีสารธรรมชาติ สเตวีโอไซด์ (Steveoside) จาก หญ้าหวาน (Stevia rebaudiana Bernoti) ซึ่งหวานกว่าน้ำตาล 150 -200 เท่า แอมปาร์เทม และสเตวี- โอไซด. ไม่ให้พลังงานเช่นเดียวกับซัคคารีน นอกจากนี้ยังมีสารปรุงแต่งรสอีกชนิดหนึ่ง ได้แก่ สารชูรส (Flavoring agents) สารชูรสมีการใช้อย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มรสชาดและกลิ่นในอาหาร ที่รู้ จักกันดี คือ ผงชูรส หรือโมโนโซเดียมกลูตาเมต หรือ เอมเอสจี (MSG) รวมทั้งน้ำมันหอมระเหย ต่าง ๆ เช่น กลิ่นอบเชย (Cinnamon) กลิ่นกล้วยและวานิลา ผงชูรสเป็นสารที่มีการศึกษาวิจัยและ ถกเถียงกันมากถึงผลเสียที่อาจมีต่อสุขภาพ จากการทดลองในหนูพบว่าเป็นพิษต่อลูกหนู จึงห้ามใช้ ในอาหารทารก และห้ามสตรีมีครรภ์รับประทาน ผู้ใหญ่บางคนก็เกิดอาการแพ้ผงชูรส เช่น อาการ ชาลิ้น ชาตามไหล่ ต้นคอ และบางคนถึงหมดสติ อาการเช่นนี้เรียกว่า Chinese restaurant syndrome สารปรุงแต่งลักษณะ ได้แก่สารเคมีที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะบางอย่างในอาหาร เช่น ทําให้เกิดความเหนียวหนืด ความกรอบ ความเปื่อยยุ่ย ความเป็นเนื้อเดียวกัน เป็นต้นผงกรอบ หรือบอแรกซ์ หรือสารที่ใช้ทําน้ำประสานทอง เป็นสารพิษกินไม่ได้ แต่ก็มีการนํามาใช้ในอาหาร เช่น ทําลูกชิ้น ทับทิมกรอบ กล้วยทอด ซึ่งถ้ากินบ่อย ๆ จะสะสมเป็นพิษต่อไต นอกจากนี้ยังมีน้ำ ส้มที่ใช้ปรุงรสอาหาร ที่ปกติจะใช้น้ำส้มสายชูที่ประกอบด้วยกรดอะซีติก ซึ่งได้จากการหมักผลไม้ ด้วยยีสต์ หรือกลั่นตามกรรมวิธีในอุตสาหกรรม แต่บางครั้งมีการใช้น้ำส้มที่เตรียมจากกรดอนินทรีย์ เช่น กรดกํามะถัน กรดเกลือ ซึ่งเป็นกรดแก่ มีความเป็นกรดรุนแรง อาจทําลายระบบทางเดินอาหาร ได้สารปรุงแต่งกลิ่น (Flavoring compound) เป็นสารกลุ่มใหญ่ที่สุดที่ถูกนํามาผสมอาหาร ตัวอย่างสารปรุงแต่งกลิ่นที่รู้จักกันดีและใช้กันมากทั้งในอาหารและเครื่องสําอาง ได้แก่ Cinnnaldehyde ซึ่งใช้แทนกลิ่นอบเชย Vanillin ใช้แทนกลิ่นวานิลลา Citral จากน้ำมันตะไคร้หอม ใช้แทนกลิ่นมะนาว Furfuryl mercaptan ใช้แทนกลิ่นของกาแฟ Alpha ronone ใช้แทนกลิ่น สตรอเบอรีและราสเบอรี Propyldisulfide ใช้แทนกลิ่นหัวหอม และ Ethyl-trans-2-cis-4-decadienoate ใช้แทนกลิ่นลูกแพร่ เป็นต้น เป็นที่น่าสังเกตว่า สารปรุงแต่งกลิ่นจะต้องมีคุณสมบัติ ระเหยได้ดี มีโมเลกุลเล็กๆ และเป็นสารพวกแอลดีไฮด์ คีโตน หรือแอลกอออล์ จาการศึกษาที่ผ่านมาปรากฏว่า สารแต่งกลิ่นในอาหารยังไม่เป็นพิษร้ายแรง แต่สารปรุงแต่ง กลิ่นในเครื่องสําอาง เช่น น้ำหอม มักทําให้เกิดอาการแพ้บ่อยๆ สารกันบูดและสารกันหืน (Preservatives and antioxdant) สารกลุ่มนี้มีจํานวนมากและใช้ อย่างกว้างขวางในอาหาร เครื่องดื่ม ยา และเครื่องสําอาง สารกันบูดใช้ฆ่าและป้องกันการเจริญ เติบ โตของแบคทีเรีย สารกันหืนเป็นสารป้องกันปฏิกิริยาออกซิแดนต์ และทําให้เกิดกลิ่นที่ไม่พึง ประสงค์ สารกันบูดและสารกันหืนที่ใช้กันมาก เช่น เกลือ น้ำตาล กรดเบนโซอิค โซเดียมเบนโซเอต ฟอร์มาลดีไฮด์ พาราบีน เฮกซาคลอโรฟีน กรดบอริค บีเอชเอ (BHA -butylated hydroxylanisole) บีเอชที (BHT - butylated hydroxytoluene) โปรปัลกัลเลต และดินประสิว หรือเกลือของโซเดียม ไนเตรตและโซเดียมไนไตรต์ เป็นต้น สารเหล่านี้บางชนิดอาจเป็นสารก่อมะเร็ง และควรมีการ ควบคุมการใช้ ตัวอย่างสารบางชนิดตามตารางที่ 4-4 สารที่มีการใช้กันมากในอาหารหลายชนิดที่ บริโภคกันเสมอ คือ ดินประสิว ซึ่งใส่อาหารแปรรูปพวกเนื้อสัตว์เพื่อกันบูด และทําให้เนื้อสัตว์มีสี สวย และเนื้อสัตว์เปื่อย เช่น ไส้กรอก แฮม กุนเชียง แหนม ปลากระป๋อง เนื้อเค็มแห้ง ปลาร้า เป็นต้น ดินประสิวจะเปลี่ยนเป็นสารพิษได้เมื่อมีการรวมตัวกับโปรตีนพวกเอมีน (amine) ในเนื้อ สัตว.เกิดสารไนโตรซามีน (Nitrosamine) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ เช่น มะเร็งตับ ไต ปอด ทาง เดินอาหาร และกระเพาะอาหาร2. a substance or chemical contamination adulterated food puean.The substance or chemical contamination of food contamination in puean is divided into two categories:2.1 substances originating from the manufacturing process. Packing and cooking, including substances in the food production process, for example, is the same body (emulsifier), such as lecithin (lecithin) Pro diversification (propylene glycol) naklai., or substances that cause static or have a viscosity, such as gum (gum arabic), Aramaic Hotel gelatin (gelatin) wu notkat from seaweed. Some types of substances resulting from the melting ofFood containers and harm the body. The container with the substance, PVC (polyvinyl chloride PVC =), such as plastic bottles, packaging, vegetable oil. These substances will dissolve out in food. If it exceeds the safety criterion is 0.05 ppm, it is toxic, causing cancer. There is also a set of chemical fiber rose (pyrolysates) which is the substance that caused the burning of food protein, such as meat, roasted until the burn will be scorched. University of Rochester-se thakhuen membranes which substances are carcinogens.2.2 toxins from fungi and bacteria, as resulting from the process of metabolism of bacteria and fungi.-The substance a toxin (aflatoxin), fla, which is a substance that is derived from fungi that are found in dry foods, such as dried shrimp. Onions, garlic, dried chilli, if very toxic may be received as soon as possible, but if the cumulative deaths cause cancer.-Toxic Bo TU Lin was born from brand.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The causes and effects of pollution, food additives and food preservation 1.

.A chemical called, food additives (Food additive) which refers to substances that normally not consumed as food, and do not use a mixture of ordinary food But a substance that fills in the food to the object.Such as, for the purpose of flavor added preservatives preservative. Stable, rancid. Break several types as follows:
.Additive color (color) Coloring agents has many put in food cause allergic symptoms, especially the color analysis is a are bruised on the skin. And the color of some kind cause cancer
.Colors are toxic and should not be used in food and beverage additives is the color with inorganic ที่มีโลหะ, heavy elements, these colors are usually cheap. Used to dye the various objects, flavoring agents, including sweet substances (such as Sweetener)And the saccharine (Saccharin) or tightening. Remote print is a sweet substance or sweetener at the same time until B.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: