วิจารณ์และสรุปผลจากการทดลองพบว่าการมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานทุกควา การแปล - วิจารณ์และสรุปผลจากการทดลองพบว่าการมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานทุกควา อังกฤษ วิธีการพูด

วิจารณ์และสรุปผลจากการทดลองพบว่าการ

วิจารณ์และสรุปผล
จากการทดลองพบว่าการมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานทุกความเข้มข้นมีการสูญเสียน้าหนักน้อยกว่าชุดควบคุม โดยในวันที่ 14 ของการเก็บรักษา การเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ สูญเสียน้าหนักน้อยที่สุด การเปลี่ยนแปลงสีพบว่า มะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานทุกความเข้มข้นมีการเปลี่ยนแปลงสีจากสีเขียวเป็นสีเหลืองช้ากว่าชุดควบคุม โดยการเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ มีค่า a* และ b* น้อยที่สุด ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ของมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานเพิ่มขึ้นช้ากว่ามะม่วงในชุดควบคุม โดยการเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้น้อยที่สุด และมีปริมาณกรดที่ไทรเทรตได้มากทที่สุด ส่วนมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1.5 และ 2 เปอร์เซ็นต์ มีการเกิดโรคน้อยที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากไคโตซานเป็นสารเคลือบผิวที่มีคุณสมบัติสามารถลดอัตราการคายน้า การซึมผ่านเข้าออกของออกซิเจนทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าชกับบรรยากาศน้อยลง จึงมีผลต่อการหายใจและการผลิตเอทลีนของพืช12 อีกทั้งไคโตซานมีคุณสมบัติในการดูดซับและจับตะกอนต่างๆ และเคลือบปิดรอยบาดแผลและรอยช้าของมะม่วง ทาให้ป้องกันการเข้าทาลายของเชื้อราและแบคทีเรียสาเหตุของการเกิดโรค2 นอกจากนี้การเคลือบผิวยังช่วยชะลอกระบวนการสุก ทาให้การสลายตัวของแป้งที่สะสมภายในพืชสลายตัวเป็นน้าตาลได้ช้าลง13 เช่น การเคลือบผิวมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ และพันธุ์ Ataulfo ด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 และ 2 เปอร์เซ็นต์ตามลาดับ สามารถชะลอเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้าหนักได้ และมีปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้น้อยกว่าชุดควบคุม 5,6 การเคลือบผิวผลหม่อนด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ ช่วยชะลอการเกิดโรคและยืดอายุการเก็บรักษาได้14 อย่างไรก็ตาม การเคลือบผิวทาให้เกิดสภาพดัดแปลงบรรยากาศ15 จากัดการผ่านเข้าออกของออกซิเจน หากใช้สารในความเข้มข้นสูงเกินไป ทาให้การผ่านเข้าออกของออกซิเจนน้อยเกินไป ผลมะม่วงเกิดการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน16 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์ มหาชนกได้
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณ ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ที่สนับสนุนการดาเนินงานวิจัยในครั้งนี้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Review and summaryจากการทดลองพบว่าการมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานทุกความเข้มข้นมีการสูญเสียน้าหนักน้อยกว่าชุดควบคุม โดยในวันที่ 14 ของการเก็บรักษา การเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ สูญเสียน้าหนักน้อยที่สุด การเปลี่ยนแปลงสีพบว่า มะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานทุกความเข้มข้นมีการเปลี่ยนแปลงสีจากสีเขียวเป็นสีเหลืองช้ากว่าชุดควบคุม โดยการเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ มีค่า a* และ b* น้อยที่สุด ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ของมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานเพิ่มขึ้นช้ากว่ามะม่วงในชุดควบคุม โดยการเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้น้อยที่สุด และมีปริมาณกรดที่ไทรเทรตได้มากทที่สุด ส่วนมะม่วงที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1.5 และ 2 เปอร์เซ็นต์ มีการเกิดโรคน้อยที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากไคโตซานเป็นสารเคลือบผิวที่มีคุณสมบัติสามารถลดอัตราการคายน้า การซึมผ่านเข้าออกของออกซิเจนทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าชกับบรรยากาศน้อยลง จึงมีผลต่อการหายใจและการผลิตเอทลีนของพืช12 อีกทั้งไคโตซานมีคุณสมบัติในการดูดซับและจับตะกอนต่างๆ และเคลือบปิดรอยบาดแผลและรอยช้าของมะม่วง ทาให้ป้องกันการเข้าทาลายของเชื้อราและแบคทีเรียสาเหตุของการเกิดโรค2 นอกจากนี้การเคลือบผิวยังช่วยชะลอกระบวนการสุก ทาให้การสลายตัวของแป้งที่สะสมภายในพืชสลายตัวเป็นน้าตาลได้ช้าลง13 เช่น การเคลือบผิวมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ และพันธุ์ Ataulfo ด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 และ 2 เปอร์เซ็นต์ตามลาดับ สามารถชะลอเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้าหนักได้ และมีปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้น้อยกว่าชุดควบคุม 5,6 การเคลือบผิวผลหม่อนด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ ช่วยชะลอการเกิดโรคและยืดอายุการเก็บรักษาได้14 อย่างไรก็ตาม การเคลือบผิวทาให้เกิดสภาพดัดแปลงบรรยากาศ15 จากัดการผ่านเข้าออกของออกซิเจน หากใช้สารในความเข้มข้นสูงเกินไป ทาให้การผ่านเข้าออกของออกซิเจนน้อยเกินไป ผลมะม่วงเกิดการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน16 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์ มหาชนกได้AcknowledgementsThank you, Department of agriculture, Faculty of technology, University of technology, Department of home economics and Maha sarakham. Faculty of agriculture, Kasetsart University campuses, bangkhen, supporting research and operations.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Review and results
of the experiment showed that the mango coated with chitosan all concentrations with less weight loss than control by the 14th day of storage. Coating chitosan concentration of 1 percent weight loss is minimal. Found that changes color Mango coated with chitosan All concentrations have changed color from green to yellow slowly than the control. By coating with chitosan concentration of 1 percent and a * and b * Minimal water soluble solids of mangoes coated with chitosan increased more slowly than in the control of mango. By coating with chitosan at 0.5 percent soluble solids, has a minimum. The acid Sai Tracy has at most. The mango coated with chitosan concentration of 1.5 and 2 percent with minimal disease. Because chitosan coating features can reduce the rate of water discharge. The absorption of oxygen into the atmosphere causes less gas exchange. Therefore, affect breathing and lean manufacturing Eight of 12 plants. The chitosan has the ability to absorb and catch sediment. And sealing the wound and slow tracks of mango. Apply to prevent the destruction of fungal and bacterial causes of disease 2. Moreover, the coating helps slow ripening process. Lead to the disintegration of starch that accumulates inside the plant decays slowly as the sugar coating 13 such varieties Ataulfo ​​mango varieties and infinite luck with chitosan concentration of 1 and 2 percent, respectively. Can slow down the weight loss percentage. And a water-soluble solid content was less than the control Mulberry 5,6 Coating chitosan concentration of 1 percent to help slow the disease and prolong shelf life is 14, however, the coating causes a modification. Scene 15 Limit the access of oxygen. If substances in concentrations too high. Make a pass out of too little oxygen. Mango took anaerobic respiration 16. Affect the quality of the harvest of mango. A. Public
acknowledgments
Thanks Department of Agricultural Technology, Faculty of Technology University. And Department of Economics, Faculty of Agriculture, Kasetsart University. High School Supporting the implementation of this research.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: