พัฒนาการของเงินตราไทย๑. เงินตราไทยก่อนรัชกาลที่ ๔ สมัยรัตนโกสินทร์เงิน การแปล - พัฒนาการของเงินตราไทย๑. เงินตราไทยก่อนรัชกาลที่ ๔ สมัยรัตนโกสินทร์เงิน อังกฤษ วิธีการพูด

พัฒนาการของเงินตราไทย๑. เงินตราไทยก

พัฒนาการของเงินตราไทย

๑. เงินตราไทยก่อนรัชกาลที่ ๔ สมัยรัตนโกสินทร์

เงินตราที่ใช้ในประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยเรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ ๓ สมัยรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วย

ก. เงินพดด้วง

เป็นเงินตราที่ผลิตเป็นรูปขดกลมคล้ายตัวด้วง โดยตัดก้อนโลหะเงินแบ่งออกตามมาตราน้ำหนัก เช่น กึ่งเฟื้อง เฟื้อง สลึง กึ่งบาท บาท กึ่งตำลึง ตำลึง และชั่ง ซึ่งมีอัตราการทดตามมาตราน้ำหนัก คือ

๒ เฟื้อง เท่ากับ ๑ สลึง
๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท
๔ บาท เท่ากับ ๑ ตำลึง
๒๐ ตำลึง เท่ากับ ๑ ชั่ง

ก้อนโลหะเงินที่ตัดแบ่งตามน้ำหนักมาตรฐานนี้ ประทับตราประจำรัชกาลของพระเจ้าแผ่นดิน ที่ทรงให้ผลิตเงินตรานั้นขึ้น ซึ่งในสมัยสุโขทัยเงินพดด้วงประทับตราประจำรัชกาลที่โปรดให้ผลิตขึ้น ได้แก่ สิงห์ ช้าง กระต่าย วัว สังข์ ดอกไม้ และราชวัตร โดยตราที่ประทับในเงินพดด้วงแต่ละเม็ดจะมีมากกว่า ๒ ตรา ที่ขาเงินพดด้วงมีบากลึกลงไป เพื่อให้ตรวจดูเนื้อในของก้อนเงินพดด้วงได้ สำหรับสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์มีระบบการตอกตราเพียง ๒ ตรา โดยด้านบนประทับตราจักรแทนองค์พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นสมมติเทพ ส่วนด้านหน้าเป็นตราประจำรัชกาล สมัยอยุธยาพดด้วงมีทั้งเนื้อทองคำและเนื้อเงิน ก้อนที่มีน้ำหนักน้อยกว่า ๑ บาท โดยเฉพาะชนิดสลึง เฟื้อง และ ๒ เฟื้อง นิยมใช้ตราสังข์ ช้าง และสังข์กนก ในขณะที่สมัยธนบุรีใช้ตราตรีเป็นตราประจำรัชกาล ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์ใช้ตรามหาอุณาโลมตราพระครุฑ ตรามหาปราสาท ตรามหามงกุฎ เป็นตราประจำรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ ตามลำดับ นอกจากนี้ ในรัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ทำตราอื่นๆ เพื่อเป็นเงินพดด้วงที่ระลึกอีกด้วย เช่น ตรารวงผึ้ง ลูกศร ดอกไม้ ใบมะตูม เฉลว ครุฑเสี้ยว พระเต้าสิโนทก รวมทั้งมีการผลิตพดด้วงทองคำด้วยเช่นกัน

ข. เบี้ย

เป็นเงินปลีก มีอัตราประมาณ ๑๐๐ เบี้ย ต่อ ๑ อัฐ หรือ ๘๐๐ ถึง ๑,๒๐๐ เบี้ย ต่อ ๑ เฟื้อง เบี้ยเป็นหอยทะเล เฉพาะที่ใช้เป็นเงินตรามี ๒ ชนิด เรียกชื่อว่า เบี้ยจั่น และเบี้ยนาง ซึ่งพ่อค้าชาวต่างชาตินำเข้ามาขาย บางครั้งเมื่อไม่มีเรือสำเภานำเบี้ยเข้ามาขาย และเกิดขาดแคลนเงินปลีก ราคาของเบี้ยก็เพิ่มสูงขึ้นได้ ในสมัยอยุธยาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงแก้ปัญหาขาดแคลนเบี้ย โดยทรงทำดินเผาประทับตราสิงห์ กระต่าย ดอกบัว กินรี และไก่ ใช้แทนเบี้ยชั่วคราว เรียกกันว่า “ประกับ”

๒. เงินตราไทยในรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕

ก. เหรียญเงิน

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชาวยุโรปเดินทางเข้ามาซื้อสินค้าจากไทยจำนวนมาก การผลิตเงินพดด้วงด้วยมือจึงทำได้ไม่ทันกับความต้องการใช้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเหรียญกษาปณ์เงิน ด้วยเครื่องจักรที่นำมาจากประเทศอังกฤษแทน โดยใน พ.ศ. ๒๔๐๑ เริ่มผลิตเหรียญเงินชนิด บาท สลึง และเฟื้อง ตราพระแสงจักรและตราพระมหามงกุฎ เมื่อได้นำเครื่องจักรขนาดใหญ่เข้ามาแล้ว จึงเริ่มผลิตเหรียญเงินชนิดราคาบาท กึ่งบาท สลึง เฟื้อง และกึ่งเฟื้อง ขึ้นเป็นจำนวนมากใน พ.ศ. ๒๔๐๓ เป็นการแก้ไขปัญหาเงินตรา มูลค่าสูงที่มีจำนวนไม่พอใช้ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๐๕ ได้แก้ไขปัญหาจำนวนเงินตรามูลค่าต่ำ โดยผลิตเหรียญอัฐและโสฬสด้วยดีบุก เพื่อใช้เป็นเงินปลีกแทนเบี้ยหอย รวมทั้งโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเหรียญชนิดราคา ซีกและเสี้ยวด้วยทองเหลืองและทองแดงขึ้นใช้ด้วย มาตราของเงินไทยภายหลังจากได้มีการปรับปรุงแล้วจึงเป็นดังนี้

๒ โสฬส เท่ากับ ๑ อัฐ
๒ อัฐ เท่ากับ ๑ เสี้ยว
๒ เสี้ยว เท่ากับ ๑ ซีก
๒ ซีก เท่ากับ ๑ เฟื้อง
๒ เฟื้อง เท่ากับ ๑ สลึง
๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท
๔ บาท เท่ากับ ๑ ตำลึง
๒๐ ตำลึง เท่ากับ ๑ ชั่ง

ข. ธนบัตร

นอกจากเงินตราที่เป็นเหรียญดีบุก ทองแดง และเงิน แล้ว ยังโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเงินกระดาษหรือธนบัตร เพื่อใช้ชำระหนี้มูลค่าสูงๆ ธนบัตรที่ใช้ในรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้เรียกว่า “หมาย” โดยใน พ.ศ. ๒๓๙๖ ทรงให้พิมพ์หมายด้วยกระดาษ มีมูลค่าตั้งแต่ เฟื้อง สลึง บาทตำลึง และชั่ง มีข้อความอันเป็นสัญญาจ่ายเงินโลหะให้แก่เจ้าของหมาย ที่นำไปแลกกับพระคลัง พร้อมทั้งประทับตราพระแสงจักร และตราพระมหามงกุฎสีแดงชาดด้านหนึ่ง อีกด้านหนึ่งเป็นพระราชลัญจกรนามกรุงในหมายชนิดราคาต่ำ ส่วนในหมายชนิดราคาสูง จะประทับด้วยพระราชลัญจกรไอยราพต (องค์กลาง) ไว้ นอกจากนี้ ยังโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ใบพระราชทานเงินตราหรือเช็คขึ้นใช้อีกด้วย แต่ทั้งหมายและใบพระราชทานเงินตรา ซึ่งเป็นเงินตราชนิดใหม่ทำด้วยกระดาษ ประชาชนไม่นิยม จึงมีใช้เฉพาะในรัชกาลของพระองค์เท่านั้น กล่าวได้ว่า การปฏิรูปทั้งรูปแบบเงินตราและวัตถุที่ใช้มาตราเงินของไทย มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพยายามเปลี่ยนมาตราเงินตราจากระบบน้ำหนัก เป็นระบบทศนิยม โดยกำหนดให้เงิน ๑ บาท มี ๑๐๐ สตางค์ และได้สั่งเหรียญนิกเกิล “สยามอานาจักร” เข้ามา ใช้ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ แต่ก็ไม่สำเร็จ นอกจากนี้ ยังทรงให้พิมพ์อัฐกระดาษขึ้นใช้ชั่วคราว เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนเงินปลีก ใน พ.ศ. ๒๔๑๗ เมื่อประชาชนนำปี้มาใช้แทนเงินตรา (ปี้เป็นวัตถุ ที่ใช้แทนเงินตราในบ่อนการพนัน ทำด้วยวัสดุมีค่าต่ำ เช่น ดินเผา หรือกระเบื้อง) ต่อมาทรงพยายามที่จะให้นำธนบัตร ซึ่งเรียกกันในขณะนั้นว่า “เงินกระดาษหลวง” เข้ามาใช้ใน พ.ศ. ๒๔๓๖ แต่ก็ไม่สำเร็จจนกระทั่งเมื่อทรงนำธนบัตรออกใช้อีกครั้งใน พ.ศ. ๒๔๔๕ จึงประสบความสำเร็จเนื่องจากมีระบบธนาคารพาณิชย์เกิดขึ้นแล้ว และการซื้อสินค้ารายใหญ่ๆ จำเป็นต้องใช้ธนบัตรในการซื้อขายจ่ายทอนมากกว่าจะใช้เหรียญกษาปณ์จำนวนมาก ส่วนการปรับปรุงมาตราเงินตราจากระบบน้ำหนักมาเป็นระบบทศนิยม ประสบความสำเร็จในตอนต้นรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Thai currency development.1. Thai currency before the reign of 4 old.Currency used in the country, Thai Sukhothai takes up until the reign of the old 3 contains.G photduang.As money is a coil round like the beetle by cutting chunks of metal money is divided by the weight scale, such as half-fueang half-25 Satang fueang baht. The scale and semi/coccinia indica, coccinia Indica is §§ replacement rate by weight is. 2 fueang equals 25 Satang 1 4 25 Satang equals 1 baht. 4 baht equals to 1 coccinia grandis Coccinia grandis 20 equals 1 scaleThe metal bale wrap according to this standard weight Seal of God's Earth that he produced the money, which in the Sukhothai Silver King's seal photduang please, Lion, elephant, cow, Bunny, produced flowers and sang of common practice. By photduang money in the stamping seal, but the seal is 2 more lamet òà photduang money with deep notch in order to review the contents of photduang funds in a lump sum. For Ayutthaya until Rattanakosin era has only 2 pegs at the top of the stamp machine stamp instead of the King that he is fictional beings. The front section is the insignia of reign. Ayutthaya photduang has both gold and silver content. Bale weight is less than 1 baht, especially fueang and fueang type 2 25 Satang used instruments trumpet. Chang and sang kanok buri District while using a tri-branded seals, King. Best old used stamp of God's seal unalom khrut. Seal, seals, insignia is a Crown Castle to the reign of King Rama v 1 to 4 respectively. In addition, in the reign of King Rama v and 3 4 the Church do more to seal the money also souvenir photduang honeycomb seal. Flower arrow the matum chaleo khrut slice Bean's casino floor with photduang thok gold as well.ข. pawnAs retail funds There are about 1 100 per interest rate masjidpurani or 800 to 1, 200: 1 ** fueang ** in a seashell. Only used as money has 2 types of calls and interest rates that merchants that she Sung foreigners imported for sale. Sometimes, when there is no incoming junk and pawn was born in anticipation of money shortage. The price of the allowances were increased. In the reign of Ayuthaya King borom funerary urn shaped premium shortage solution. Pottery made by the seal lion. Chicken and rabbit Kinnaree Lotus Use instead of temporary allowances, also known as "prakap"2. the Thai currency in the reign of King Rama 5 and 4.Kg Silver MedalIn the reign of King Mongkut Rama With Europeans arriving from many Thai Silver production photduang by hand, so it is not a requirement to use Church silver coin produced by the machine taken from England, rather than by the type produced at 2401 (1858) 25 Satang coin money and fueang. Seal of light machinery and instruments of the Crown. When brought into a large machine, and then began producing silver half baht THB type 25 Satang fueang fueang and many on the monetary issue is 2403 (1860) High value is not enough to use. Subsequently, in a number of solutions have been 2405 (1862) low value denomination coins produced by the masjidpurani and Tin with an obsolete unit of currency to be used as a pawn, as well as shell instead of a retail Church produced coins with slice and half price type, brass and copper, up available. Section of Thai money after it has been adjusted as follows: An obsolete unit of 2 is equal to 1 masjidpurani. 2 masjidpurani equals 1 slice 2 equal portions 1 slice 2 equal portions 1 fueang 2 fueang equals 25 Satang 1 4 25 Satang equals 1 baht. 4 baht equals to 1 coccinia grandis Coccinia grandis 20 equals 1 scaleข. banknotesIn addition to the money as coins, Tin, copper, and silver, and then the Church produced a paper money or banknotes to settle high value banknotes used in the reign of 4 Church called the "the" in a paper with a spherical 2396 (1853) worth fueang billion baht from 25 Satang coccinia grandis and weighing. There is a contract payment to the owner of the metal to barter with his archives, as well as seal of light and a Red Crown prerogative seal Chad on one side. The other side is the Royal lanchakon rulers of in the low prices. Best in the kind of high price will be stamped with the Royal lanchakon Ayara phot (middle part), in addition to church to give more money to print cheques or use another, but both the currency and the currency, which is to give the new type is made with paper. People are not only used in the reign of God only. Said that the reform of the monetary model and an object that uses the standard Thai. Major improvements in the reign of King Mongkut Ramaพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพยายามเปลี่ยนมาตราเงินตราจากระบบน้ำหนัก เป็นระบบทศนิยม โดยกำหนดให้เงิน ๑ บาท มี ๑๐๐ สตางค์ และได้สั่งเหรียญนิกเกิล “สยามอานาจักร” เข้ามา ใช้ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ แต่ก็ไม่สำเร็จ นอกจากนี้ ยังทรงให้พิมพ์อัฐกระดาษขึ้นใช้ชั่วคราว เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนเงินปลีก ใน พ.ศ. ๒๔๑๗ เมื่อประชาชนนำปี้มาใช้แทนเงินตรา (ปี้เป็นวัตถุ ที่ใช้แทนเงินตราในบ่อนการพนัน ทำด้วยวัสดุมีค่าต่ำ เช่น ดินเผา หรือกระเบื้อง) ต่อมาทรงพยายามที่จะให้นำธนบัตร ซึ่งเรียกกันในขณะนั้นว่า “เงินกระดาษหลวง” เข้ามาใช้ใน พ.ศ. ๒๔๓๖ แต่ก็ไม่สำเร็จจนกระทั่งเมื่อทรงนำธนบัตรออกใช้อีกครั้งใน พ.ศ. ๒๔๔๕ จึงประสบความสำเร็จเนื่องจากมีระบบธนาคารพาณิชย์เกิดขึ้นแล้ว และการซื้อสินค้ารายใหญ่ๆ จำเป็นต้องใช้ธนบัตรในการซื้อขายจ่ายทอนมากกว่าจะใช้เหรียญกษาปณ์จำนวนมาก ส่วนการปรับปรุงมาตราเงินตราจากระบบน้ำหนักมาเป็นระบบทศนิยม ประสบความสำเร็จในตอนต้นรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พัฒนาการของเงินตราไทย

๑. เงินตราไทยก่อนรัชกาลที่ ๔ สมัยรัตนโกสินทร์

เงินตราที่ใช้ในประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยเรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ ๓ สมัยรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วย

ก. เงินพดด้วง

เป็นเงินตราที่ผลิตเป็นรูปขดกลมคล้ายตัวด้วง โดยตัดก้อนโลหะเงินแบ่งออกตามมาตราน้ำหนัก เช่น กึ่งเฟื้อง เฟื้อง สลึง กึ่งบาท บาท กึ่งตำลึง ตำลึง และชั่ง ซึ่งมีอัตราการทดตามมาตราน้ำหนัก คือ

๒ เฟื้อง เท่ากับ ๑ สลึง
๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท
๔ บาท เท่ากับ ๑ ตำลึง
๒๐ ตำลึง เท่ากับ ๑ ชั่ง

ก้อนโลหะเงินที่ตัดแบ่งตามน้ำหนักมาตรฐานนี้ ประทับตราประจำรัชกาลของพระเจ้าแผ่นดิน ที่ทรงให้ผลิตเงินตรานั้นขึ้น ซึ่งในสมัยสุโขทัยเงินพดด้วงประทับตราประจำรัชกาลที่โปรดให้ผลิตขึ้น ได้แก่ สิงห์ ช้าง กระต่าย วัว สังข์ ดอกไม้ และราชวัตร โดยตราที่ประทับในเงินพดด้วงแต่ละเม็ดจะมีมากกว่า ๒ ตรา ที่ขาเงินพดด้วงมีบากลึกลงไป เพื่อให้ตรวจดูเนื้อในของก้อนเงินพดด้วงได้ สำหรับสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์มีระบบการตอกตราเพียง ๒ ตรา โดยด้านบนประทับตราจักรแทนองค์พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นสมมติเทพ ส่วนด้านหน้าเป็นตราประจำรัชกาล สมัยอยุธยาพดด้วงมีทั้งเนื้อทองคำและเนื้อเงิน ก้อนที่มีน้ำหนักน้อยกว่า ๑ บาท โดยเฉพาะชนิดสลึง เฟื้อง และ ๒ เฟื้อง นิยมใช้ตราสังข์ ช้าง และสังข์กนก ในขณะที่สมัยธนบุรีใช้ตราตรีเป็นตราประจำรัชกาล ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์ใช้ตรามหาอุณาโลมตราพระครุฑ ตรามหาปราสาท ตรามหามงกุฎ เป็นตราประจำรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ ตามลำดับ นอกจากนี้ ในรัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ทำตราอื่นๆ เพื่อเป็นเงินพดด้วงที่ระลึกอีกด้วย เช่น ตรารวงผึ้ง ลูกศร ดอกไม้ ใบมะตูม เฉลว ครุฑเสี้ยว พระเต้าสิโนทก รวมทั้งมีการผลิตพดด้วงทองคำด้วยเช่นกัน

ข. เบี้ย

เป็นเงินปลีก มีอัตราประมาณ ๑๐๐ เบี้ย ต่อ ๑ อัฐ หรือ ๘๐๐ ถึง ๑,๒๐๐ เบี้ย ต่อ ๑ เฟื้อง เบี้ยเป็นหอยทะเล เฉพาะที่ใช้เป็นเงินตรามี ๒ ชนิด เรียกชื่อว่า เบี้ยจั่น และเบี้ยนาง ซึ่งพ่อค้าชาวต่างชาตินำเข้ามาขาย บางครั้งเมื่อไม่มีเรือสำเภานำเบี้ยเข้ามาขาย และเกิดขาดแคลนเงินปลีก ราคาของเบี้ยก็เพิ่มสูงขึ้นได้ ในสมัยอยุธยาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงแก้ปัญหาขาดแคลนเบี้ย โดยทรงทำดินเผาประทับตราสิงห์ กระต่าย ดอกบัว กินรี และไก่ ใช้แทนเบี้ยชั่วคราว เรียกกันว่า “ประกับ”

๒. เงินตราไทยในรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕

ก. เหรียญเงิน

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชาวยุโรปเดินทางเข้ามาซื้อสินค้าจากไทยจำนวนมาก การผลิตเงินพดด้วงด้วยมือจึงทำได้ไม่ทันกับความต้องการใช้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเหรียญกษาปณ์เงิน ด้วยเครื่องจักรที่นำมาจากประเทศอังกฤษแทน โดยใน พ.ศ. ๒๔๐๑ เริ่มผลิตเหรียญเงินชนิด บาท สลึง และเฟื้อง ตราพระแสงจักรและตราพระมหามงกุฎ เมื่อได้นำเครื่องจักรขนาดใหญ่เข้ามาแล้ว จึงเริ่มผลิตเหรียญเงินชนิดราคาบาท กึ่งบาท สลึง เฟื้อง และกึ่งเฟื้อง ขึ้นเป็นจำนวนมากใน พ.ศ. ๒๔๐๓ เป็นการแก้ไขปัญหาเงินตรา มูลค่าสูงที่มีจำนวนไม่พอใช้ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๐๕ ได้แก้ไขปัญหาจำนวนเงินตรามูลค่าต่ำ โดยผลิตเหรียญอัฐและโสฬสด้วยดีบุก เพื่อใช้เป็นเงินปลีกแทนเบี้ยหอย รวมทั้งโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเหรียญชนิดราคา ซีกและเสี้ยวด้วยทองเหลืองและทองแดงขึ้นใช้ด้วย มาตราของเงินไทยภายหลังจากได้มีการปรับปรุงแล้วจึงเป็นดังนี้

๒ โสฬส เท่ากับ ๑ อัฐ
๒ อัฐ เท่ากับ ๑ เสี้ยว
๒ เสี้ยว เท่ากับ ๑ ซีก
๒ ซีก เท่ากับ ๑ เฟื้อง
๒ เฟื้อง เท่ากับ ๑ สลึง
๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท
๔ บาท เท่ากับ ๑ ตำลึง
๒๐ ตำลึง เท่ากับ ๑ ชั่ง

ข. ธนบัตร

นอกจากเงินตราที่เป็นเหรียญดีบุก ทองแดง และเงิน แล้ว ยังโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเงินกระดาษหรือธนบัตร เพื่อใช้ชำระหนี้มูลค่าสูงๆ ธนบัตรที่ใช้ในรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้เรียกว่า “หมาย” โดยใน พ.ศ. ๒๓๙๖ ทรงให้พิมพ์หมายด้วยกระดาษ มีมูลค่าตั้งแต่ เฟื้อง สลึง บาทตำลึง และชั่ง มีข้อความอันเป็นสัญญาจ่ายเงินโลหะให้แก่เจ้าของหมาย ที่นำไปแลกกับพระคลัง พร้อมทั้งประทับตราพระแสงจักร และตราพระมหามงกุฎสีแดงชาดด้านหนึ่ง อีกด้านหนึ่งเป็นพระราชลัญจกรนามกรุงในหมายชนิดราคาต่ำ ส่วนในหมายชนิดราคาสูง จะประทับด้วยพระราชลัญจกรไอยราพต (องค์กลาง) ไว้ นอกจากนี้ ยังโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ใบพระราชทานเงินตราหรือเช็คขึ้นใช้อีกด้วย แต่ทั้งหมายและใบพระราชทานเงินตรา ซึ่งเป็นเงินตราชนิดใหม่ทำด้วยกระดาษ ประชาชนไม่นิยม จึงมีใช้เฉพาะในรัชกาลของพระองค์เท่านั้น กล่าวได้ว่า การปฏิรูปทั้งรูปแบบเงินตราและวัตถุที่ใช้มาตราเงินของไทย มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพยายามเปลี่ยนมาตราเงินตราจากระบบน้ำหนัก เป็นระบบทศนิยม โดยกำหนดให้เงิน ๑ บาท มี ๑๐๐ สตางค์ และได้สั่งเหรียญนิกเกิล “สยามอานาจักร” เข้ามา ใช้ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ แต่ก็ไม่สำเร็จ นอกจากนี้ ยังทรงให้พิมพ์อัฐกระดาษขึ้นใช้ชั่วคราว เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนเงินปลีก ใน พ.ศ. ๒๔๑๗ เมื่อประชาชนนำปี้มาใช้แทนเงินตรา (ปี้เป็นวัตถุ ที่ใช้แทนเงินตราในบ่อนการพนัน ทำด้วยวัสดุมีค่าต่ำ เช่น ดินเผา หรือกระเบื้อง) ต่อมาทรงพยายามที่จะให้นำธนบัตร ซึ่งเรียกกันในขณะนั้นว่า “เงินกระดาษหลวง” เข้ามาใช้ใน พ.ศ. ๒๔๓๖ แต่ก็ไม่สำเร็จจนกระทั่งเมื่อทรงนำธนบัตรออกใช้อีกครั้งใน พ.ศ. ๒๔๔๕ จึงประสบความสำเร็จเนื่องจากมีระบบธนาคารพาณิชย์เกิดขึ้นแล้ว และการซื้อสินค้ารายใหญ่ๆ จำเป็นต้องใช้ธนบัตรในการซื้อขายจ่ายทอนมากกว่าจะใช้เหรียญกษาปณ์จำนวนมาก ส่วนการปรับปรุงมาตราเงินตราจากระบบน้ำหนักมาเป็นระบบทศนิยม ประสบความสำเร็จในตอนต้นรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The development of the Thai currency

1. The Thai currency first. 4 Rattanakosin

currency used in Thailand Sukhothai up since. During the Rattanakosin period consists of 3

g silver

.Currency produced a circular coil like beetles. By cutting a silver metal divided section weight, such as coins, coins, and information กึ่งบาท. The semi taels tael and weighing the rate of test section weight. Is

.Two coins, equal to one penny
4 penny was 1%
4 baht equals one tael
twenty taels as one weighing

.Ingot silver cut weight due to this standard. The seal of the reign of king. He provide the money up. The Sukhothai period silver seal of King please provide up, including lion, elephant rabbitConch flower and accuracy by exchange stamps in each grain of silver will be more than 2 exchange is an arduous deep silver To check the meat of the lump of silver.The two exchange by a top seal machine instead of the king that he was a session identifier. The front part is the emblem of the reign. Chapter three days and three nights is the texture of gold and silver cubes with weight less than 1 per cent by specific types, and coins. 2.Commonly used exchange conch, elephants and conch gold, while สมัยธนบุรี used women is the emblem of the reign. In the Rattanakosin period used for shakedown exchange the รุฑ branded a great castle. Looking for a brand brand crown the king to the reign of 4, respectively.King Rama III and King 4 also graciously to do other brands as the silver; as well as exchange combs, arrow, flowers. Bael leaves เฉลว Garuda fraction. God casino DOK including the three days and three nights gold too
.


B premium small change, with a rate of about 100 premium per 1 bones or lifelong learning education to 1,.And premium per 1 coins, a premium sea shells. Only use as currency has two kinds of เรียกชื่ that premiums Chan and Bian, which the foreign imported for sale. Sometimes when there is no junk the interest in sales, and the shortage of small change.In the Ayutthaya period boromakot you solve the lack of interest. He made clay seal lion rabbit lotus kinnara and chicken instead of temporary interest เรียกก said. "With"
.
2. The Thai currency in the reign. 4, and 5

a. the reign silver

.In the reign of King Mongkut the king. The Europeans came to buy goods from a number of Thai. Production of silver by hand can not demand, so graciously provide coin money.By B.Prof.Good education 1 started producing silver coin types.), penny and coins, exchange the light machine and exchange the crown. When the large machine in. It started producing silver coins of cost per cent., กึ่งบาท coins, and semi coins.B.The seminary Professor 24 3 is a issue currency. High value were not used later in the yearGood education, solve the problem of 5 currency value is low. By the production of coins and bones Soros tin. For small change instead of interest, including royal clams produce coin price. Hemispheres and the crescent with brass and copper up to use.
2 Soros equals 1
2 bones bones as a
2 1 as one half of two halves. As
1
2 coins as coins, one penny
. 4 penny was 1%
4 baht equals one tael
twenty taels as one weighing

B. note

.In addition to exchange a coin tin, copper and silver. Also graciously to produce paper money or banknotes. To pay high value. The banknotes of King Rama 4th graciously. Called the "หมาย” in BC.Her 9 6 allow printing paper is worth meaning since the coins, penny. Million taels and scale have the message as a promise to pay to the owner of metal targets. Guide for dichotomous outcome and seal the light machine.The other side is the seal in the name of type low prices, the mean high prices will ประทับด้วย type seal iyara pot (Prince Center). Also, royal, Royal Exchange or check up leaf prints.Which is a new type of paper currency, the public is not popular, so there is only used during the reign of his times, said that the reform of the currency format and objects, using the money of section There is a big improvement.King Rama V
He tried to change the currency system weight. A decimal system. The money one bath with 100 penny and ordered the nickel "Siamese kingdom." In use in BC.Good king, but failed. Besides, still printed Issa bakary att up temporarily. To solve the problem of shortage of small change in 1998.๒๔๑๗ when people bring a copy instead of currency (copy an object, to substitute the money in the casino. The materials is low, such as clay or tile). He later tried to bring the bill, which is referred to in that moment that the "Royal paper money."B.Prof. 24 3 6, but not until when brought issued banknotes again in BC.Good 4 5 will succeed because the banking system is done, major purchases. Need to use the banknote in the trading cost change rather than use a lot of coinsSuccess in the early reign. King Prajadhipok Rama 7.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: