บทคัดย่อ การจัดทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางกา การแปล - บทคัดย่อ การจัดทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางกา อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อ การจัดทำวิจัยครั้งนี้มีวัต

บทคัดย่อ
การจัดทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม)
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) (3) แบบประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและดัชนีประสิทธิผลผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลรวมของคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จากนักเรียนทั้งหมด 35 คน เท่ากับ 209 คะแนน จาก 350 คะแนน คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.97 คะแนน จาก 10 คะแนน และคิดเป็นร้อยละ 73.15 จากคะแนนเต็ม ผลรวมของคะแนน จากแบบทดสอบหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จากนักเรียนทั้งหมด 35 คน เท่ากับ 269 คะแนน จาก 350 คะแนน คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.69 คะแนน จาก 10 คะแนน และคิดเป็นร้อยละ 94.15 จากคะแนนเต็ม ผลคะแนนรวมระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่าง เท่ากับ 60 คะแนน คะแนนเฉลี่ยระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 1.71 คะแนน คะแนนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 1.13 คะแนน และคิดเป็นร้อยละ 58.33 จากคะแนนเต็ม
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.73 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.48 และเมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ พบว่า มีระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อยู่ในระดับดีมากจำนวน 10 ข้อโดยเรียงลำดับข้อคิดเห็นที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ผู้สอนสามารถสื่อสารและให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดค้นหาคำตอบรวมถึงกระทำภารกิจเรียนรู้อย่างตื่นตัว ( = 4.87, S.D. = 0.34) เนื้อหามีความกะทัดรัด เป็นลำดับขั้นและง่ายต่อการทำความเข้าใจและสารสนเทศที่จัดไว้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเพียงพอ ( = 4.83, S.D. = 0.38) และการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองหรือผู้สอน ผ่านเครือข่ายช่วยส่งเสริมการขยายแนวคิดและกระต้นผู้เรียนในการเรียนรู้( = 4.78, S.D. = 0.51)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ การจัดทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) (3) แบบประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและดัชนีประสิทธิผลผลการวิจัยผลการวิจัยพบว่า 1. ผลรวมของคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จากนักเรียนทั้งหมด 35 คน เท่ากับ 209 คะแนน จาก 350 คะแนน คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.97 คะแนน จาก 10 คะแนน และคิดเป็นร้อยละ 73.15 จากคะแนนเต็ม ผลรวมของคะแนน จากแบบทดสอบหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จากนักเรียนทั้งหมด 35 คน เท่ากับ 269 คะแนน จาก 350 คะแนน คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.69 คะแนน จาก 10 คะแนน และคิดเป็นร้อยละ 94.15 จากคะแนนเต็ม ผลคะแนนรวมระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่าง เท่ากับ 60 คะแนน คะแนนเฉลี่ยระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 1.71 คะแนน คะแนนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 1.13 คะแนน และคิดเป็นร้อยละ 58.33 จากคะแนนเต็มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.73 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.48 และเมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ พบว่า มีระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อยู่ในระดับดีมากจำนวน 10 ข้อโดยเรียงลำดับข้อคิดเห็นที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ผู้สอนสามารถสื่อสารและให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดค้นหาคำตอบรวมถึงกระทำภารกิจเรียนรู้อย่างตื่นตัว ( = 4.87, S.D. = 0.34) เนื้อหามีความกะทัดรัด เป็นลำดับขั้นและง่ายต่อการทำความเข้าใจและสารสนเทศที่จัดไว้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเพียงพอ ( = 4.83, S.D. = 0.38) และการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองหรือผู้สอน ผ่านเครือข่ายช่วยส่งเสริมการขยายแนวคิดและกระต้นผู้เรียนในการเรียนรู้( = 4.78, S.D. = 0.51)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract.The research objectives To develop the achievement in learning computer for students 2 mahasarakham University (elementary level).The sample is a grade 2 / 1 of mahasarakham University (elementary) semester academic year 2558 1-2 were 35 people. The instruments were (1) of computer assisted instruction of computer for students 2 mahasarakham University (elementary level). (2) achievement tests on equipment for grade I 2 mahasarakham University (elementary level). (3) satisfaction evaluation. Of the students on the computer assisted instruction knowledge about computers. The statistical analysis of data, percentage, mean, standard deviation, and the effective index analysis.It was found that1. The sum of scores from pre-test of computer equipment from all the students 35 people were 209 points from 350 points. Average score of 5.97 points from 10 points and were 73.15 from total sum of points from the test after the lesson. The computer equipment from all the students 35 people were 269 points from 350 points average of 7.69 points from 10 points. And the percentage of 94.15 from full marks. The total score between pretest and posttest is different, as 60 score. Scores between before and after the learning of 1.71 points. The score standard deviation before and after the learning of 1.13 points and were 58.33 จากคะแนนเต็ม.Significantly, 052. The satisfaction of students on Learning Assisted by included in the ระดับดีมาก is the average of the 4.73 and a standard deviation. As 0.48 considering satisfaction item, it was found that the levels of satisfaction of learners have continued.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: