ที่มาและความสำคัญประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ประมา การแปล - ที่มาและความสำคัญประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ประมา อังกฤษ วิธีการพูด

ที่มาและความสำคัญประเทศไทยได้เข้าสู

ที่มาและความสำคัญ

ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ประมาณปี 2543-2544 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในประเทศ โดยในปี 2555 มีผู้สูงอายุคิดเป็นประมาณร้อยละ 12.7 ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าสัดส่วนนี้จะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจเพิ่มสูงถึงร้อยละ 20 ของประชากร ในช่วงเวลาอีก 15 ปีข้างหน้า หรือในปี2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,2557) นอกจากนี้การที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นนี้ ยังพบว่าผู้สูงอายุมีโรคเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นจากการที่เทคโนโลยีด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้ามาก ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น
จากผลการสํารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี 2556 โดยกรมอนามัยร่วมกับโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) พบว่า ผู้สูงอายุไทยร้อยละ 5 มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ส่วนที่เหลือร้อยละ 95 มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรค ความดันโลหิตสูงมากที่สุด ร้อยละ 41 เบาหวานร้อยละ 18 ข้อเสื่อมร้อยละ 9 พิการร้อยละ 6 ซึมเศร้าร้อยละ 1 และผู้ป่วยนอนติดเตียงร้อยละ 1 (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557) โดยพบการใช้งบประมาณด้านสาธารณสุขต่องบประมาณของประเทศ ปี 2553 คิดเป็นร้อย 9.5 และในปี 2554 คิดเป็นร้อยละ 9.1 และรายจ่ายด้านยาต่อ GDP ปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 3.07 ปี 2551 คิดเป็นร้อยละ 3.01 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,2557)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Origin and importance.Thai country into being a society the elderly ranging from approximately the year 2543 (2000)-2544 (2001), that is, with a population of more than 60 years of age accounted for approximately 10 per cent in the proportion of the total population in the country in recent years, there are high-2555 (2012) age people accounted for about 12.7 percent of the population in both countries, and this proportion is expected to increase prospective rise continuously, which can add up to 20 per cent of the population in the next 15 years, longer duration, or in a year-2568 (2025) (National Statistics Office, 2557 (2014)) in addition, with the increasing elderly population. Also found that elderly people with chronic diseases and more from medical technology to move ahead. Make the elderly age of longevity.From the Thai elderly well-being survey year 2556 (2013) doikonmonamai in connection with the project and technology assessment program (HITAP) found that elderly Thai 5 percent were healthy, strong. The remaining 95 per cent have mental illness with chronic high blood pressure as much as possible. Diabetic 41 per cent per cent yearly message 18 per cent disability, 9 6 per cent and 1 per cent depressed patients lying in bed next to 1 per cent (Office of national economic and social development, 2557 (2014)) By found public health budget to the country's budget. 9.5 per cent year-on-year and accounted for 2553 (2010) year 2554 (2011) accounted for 9.1 per cent of GDP and the annual expenditure per drug 2550 (2007) 2551 (2008) 3.07 percent year-on-year figure was 3.01 per cent (National Statistics Office of the 2557 (2014),)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ที่มาและความสำคัญ

ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ประมาณปี 2543-2544 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในประเทศ โดยในปี 2555 มีผู้สูงอายุคิดเป็นประมาณร้อยละ 12.7 ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าสัดส่วนนี้จะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจเพิ่มสูงถึงร้อยละ 20 ของประชากร ในช่วงเวลาอีก 15 ปีข้างหน้า หรือในปี2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,2557) นอกจากนี้การที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นนี้ ยังพบว่าผู้สูงอายุมีโรคเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นจากการที่เทคโนโลยีด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้ามาก ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น
จากผลการสํารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี 2556 โดยกรมอนามัยร่วมกับโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) พบว่า ผู้สูงอายุไทยร้อยละ 5 มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ส่วนที่เหลือร้อยละ 95 มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรค ความดันโลหิตสูงมากที่สุด ร้อยละ 41 เบาหวานร้อยละ 18 ข้อเสื่อมร้อยละ 9 พิการร้อยละ 6 ซึมเศร้าร้อยละ 1 และผู้ป่วยนอนติดเตียงร้อยละ 1 (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557) โดยพบการใช้งบประมาณด้านสาธารณสุขต่องบประมาณของประเทศ ปี 2553 คิดเป็นร้อย 9.5 และในปี 2554 คิดเป็นร้อยละ 9.1 และรายจ่ายด้านยาต่อ GDP ปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 3.07 ปี 2551 คิดเป็นร้อยละ 3.01 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,2557)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Origin and significance

.Thailand entering aging society since about the year 2543-2544 denoted with the aging population 60 years representing approximately 10 of total population in the country. In 2555 elderly accounted for approximately 12.7 of population throughout the country. And expect this proportion is rising continuously, which may increase the 20 of population during a 15 years. Or in 2568 (National Bureau of statistics.2557) also the elderly population increase. Also found that elderly people with chronic medical technology more and more from the growth ้ามา step times. Therefore, the elderly longevity up
.From the survey results the health of the elderly years 2556 by Department of health technology assessment with the project and policies in health (HITAP) found that the elderly and 5 perfectly healthy. A strong, the rest were 95 have mental illnesses.Percent percentage percentage 9 41 diabetes 18 osteoarthritis disability were 6 depression and sleep on the bed 1% patients were 1 (Office of the national economic and social development2557) by land using public health budget to budget of the country '2553 accounted for hundreds of 9.5 and in 2554 คิดเป็น percent and 9.1 drug expenditure. GDP years 2550 were 3.07 years 2551 were 3.01 (National Bureau of statistics, the 2557).
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: