ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำ การแปล - ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำ อังกฤษ วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษา

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้วิจัย สุขุมาลย์ อนุเวช ปริญญา ค.ต. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. สมปอง ศรีกัลยา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ผส. ดร. ประสพสุข สุทธิเดช อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
มหาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2558
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) ยืนยันผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระกับมัธยมศึกษาตอนปลาย วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 ตน ด้วยการสุ่ม แบบกลุ่มหลายชั้น(Multi-stage Cluster Sampling) ครูจำนวน 80 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียน ผู้บริหารจำนวน 52 คนโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 5 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและสัมภาษณ์ ระยะที่ 2 การศึกษาการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมปลาย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนจตุพักตรพิมานรัชดาภิเษก จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 40 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ 2 และระยะที่ 3 ได้แก่รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่ 3 การศึกษาผลการยืนยันการยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนยืนยันการใช้รูปแบบการสอน จำนวน 6 โรงเรียน นักเรียนจำนวน 195 คน ครูผู้สอน จำนวน 6 คน ใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย พื้นที่การวิจัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 สถิติที่ใช้ในการใช้วิจัย ได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̅)ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า T-Test (dependent samples)
ผลวิจัยพบว่า
1. ผลการการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือ แนวคิดและทฤษฎีของรูปแบบการสอน จุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอน สาระการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอน และการวัดและประเมินผลขั้นตอนการสอนมีลักษณะเป็น CREATE MODLE แบ่งเป็น 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมการสอน ประกอบด้วยกิจกรรม C = Cognition : การทำให้ตะหนักรับรู้ ขั้นที่ 2 การดำเนินการสอน ประกอบด้วย 2 กิจกรรมคือ กิจกรรม R = Reflection : การสะท้อนความคิดเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าและกิจกรรม E = Elaborate To Create : การร่วมกันคิดอย่างละเอียดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานขั้นที่ 3 การวัดประเมินผล แลละเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ประกอบด้วย 3 ประกอบด้วยกิจกรรม A =Assessment : การประเมินผลงาน กิจกรรม T = Thinking : การคิดเชื่อมโยงเพื่อแสดงผลงาน และกิจกรรม E= Exhibition : การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
2. ผลการศึกษาการใช้รูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ (2.1) จำนวนนักเรียนที่มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ร้อยละ 70 พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์ความคิดสร้างสรรค์ รอยละ 70 ทุกคน (2.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (2.3) ผลลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
3. ผลการยืนยันการขยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า (3.1) นักเรียนจำนวน 195 คน จาก 6 โรงเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทุกคน (3.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3.3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนจำนวน 195 คนที่มีต่อรูปแบบการภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผู้วิจัยสุขุมาลย์อนุเวชปริญญาค.ต. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)อาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์ดร สมปองศรีกัลยาอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ผส ดร ประสพสุขสุทธิเดชอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมมหาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2558บทคัดย่อยืนยันผลการใช้รูป 3 ศึกษาผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) 2))แบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระกับมัธยมศึกษาตอนปลายวิธีการวิจัยแบบผสานวิธีคือการวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 ตนด้วยการสุ่มแบบกลุ่มหลายชั้น (คลัสเตอร์แบบหลายขั้นตอนสุ่ม) ครูจำนวน 80 คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียนผู้บริหารจำนวน 52 คนโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียนศึกษานิเทศก์จำนวน 5 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามและสัมภาษณ์ระยะที่ 2 การศึกษาการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมปลายกลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนจตุพักตรพิมานรัชดาภิเษกจำนวน 1 ห้องเรียนนักเรียนจำนวน 40 คน (สุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย) ของโดยการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ 2 และระยะที่ 3 ได้แก่รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายระยะที่ 3 การศึกษาผลการยืนยันการยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษากลุ่มตัวอย่างโรงเรียนยืนยันการใช้รูปแบบการสอนจำนวน 6 โรงเรียนนักเรียนจำนวน 195 คนครูผู้สอนจำนวน 6 คนใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายพื้นที่การวิจัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 สถิติที่ใช้ในการใช้วิจัยได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̅) ค่าร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า T-ทดสอบ (ตัวอย่างอ้างอิง) ผลวิจัยพบว่า 1. ผลการการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือแนวคิดและทฤษฎีของรูปแบบการสอนจุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอนสาระการเรียนรู้ขั้นตอนการสอนและการวัดและประเมินผลขั้นตอนการสอนมีลักษณะเป็นสร้าง MODLE แบ่งเป็น 3 ขั้นคือขั้นที่ 1 การเตรียมการสอนประกอบด้วยกิจกรรม C =ประชาน: การทำให้ตะหนักรับรู้ขั้นที่ 2 การดำเนินการสอนประกอบด้วย 2 กิจกรรมคือกิจกรรม R =สะท้อน: การสะท้อนความคิดเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าและกิจกรรม E =อย่างประณีตสร้าง: ประกอบด้วยกิจกรรมแลละเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ประกอบด้วย 3 การวัดประเมินผลการร่วมกันคิดอย่างละเอียดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานขั้นที่ 3 A =ประเมิน: การประเมินผลงานกิจกรรม T =คิด: การคิดเชื่อมโยงเพื่อแสดงผลงานและกิจกรรม E =นิทรรศการ: การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน2. ผลการศึกษาการใช้รูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้แก่ (2.1) จำนวนนักเรียนที่มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ร้อยละ 70 พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์ความคิดสร้างสรรค์รอยละ 70 ทุกคน (2.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (2.3) ผลลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก3. ผลการยืนยันการขยายผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายพบว่า (3.1) นักเรียนจำนวน 195 คนจาก 6 โรงเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทุกคน (3.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนจำนวน (3.3) 195 คนที่มีต่อรูปแบบการภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับมาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่อง
สุขุมาลย์อนุเวชปริญญา ค.ต.
อาจารย์ดร
ศรีกัลยาสมปองอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักผส ดร ประสพสุขสุทธิเดช 1) 2) 3) วิธีการวิจัยแบบผสานวิธีคือ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือระยะที่ 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 ตนด้วยการสุ่มแบบกลุ่มหลายชั้น (Multi-ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างคลัสเตอร์) ครูจำนวน 80 คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียนผู้บริหารจำนวน 52 คนโดยการ สุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียนศึกษานิเทศก์จำนวน 5 แบบสอบถามและสัมภาษณ์ระยะที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนจตุพักตรพิมานรัชดาภิเษกจำนวน 1 ห้องเรียนนักเรียนจำนวน 40 คนโดยการสุ่มอย่างง่าย (ง่ายสุ่ม) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ 2 และระยะที่ 3 ระยะที่ 3 จำนวน 6 โรงเรียนนักเรียนจำนวน 195 คนครูผู้สอนจำนวน 6 คนใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายพื้นที่การวิจัย 27 สถิติที่ใช้ในการใช้วิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่า t-test (ตัวอย่างขึ้น) ผลวิจัยพบว่า1 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือแนวคิดและทฤษฎีของรูปแบบการสอนจุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอนสาระการเรียนรู้ขั้นตอนการสอน สร้าง MODLE แบ่งเป็น 3 ขั้นคือขั้นที่ 1 การเตรียมการสอนประกอบด้วยกิจกรรม C = ความรู้ความเข้าใจ: การทำให้ตะหนักรับรู้ขั้นที่ 2 การดำเนินการสอนประกอบด้วย 2 กิจกรรมคือกิจกรรม R = สะท้อน: E = ซับซ้อนการสร้าง: 3 การวัดประเมินผล ประกอบด้วยกิจกรรม 3 A = การประเมินผล: การประเมินผลงานกิจกรรม T = ความคิด: การคิดเชื่อมโยงเพื่อแสดงผลงานและกิจกรรม E = นิทรรศการ: การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน2 ได้แก่ (2.1) 70 รอยละ 70 ทุกคน (2.2) ที่ระดับ. 05 (2.3) พบว่า (3.1) นักเรียนจำนวน 195 คนจาก 6 โรงเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทุกคน (3.2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ 05 (3.3) 195







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้วิจัยสุขุมาลย์อนุเวชปริญญาค . ต . ( หลักสูตรและการเรียนการสอน )
อาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์ดร .สมปองศรีกัลยาอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ผส . ดร . ประสพสุขสุทธิเดชอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม


บทคัดย่อมหาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2558การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) พัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ( 2 )3 ) ยืนยันผลการใช้รูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระกับมัธยมศึกษาตอนปลายวิธีการวิจัยแบบผสานวิธีความการวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ1 การพัฒนารูปแบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 สภาพจิตใจด้วยการสุ่มการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม ) ครูจำนวน 80 คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียนผู้บริหารจำนวน 52 คนโดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 60 โรงเรียนศึกษานิเทศก์จำนวน 5 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามและสัมภาษณ์ระยะที่ 2ความคิดเห็นต่อกลุ่มตัวอย่างได้แก่ 4 / 3 โรงเรียนจตุพักตรพิมานรัชดาภิเษกจำนวน 1 ห้องเรียนนักเรียนจำนวน 40 คนโดยการสุ่มอย่างง่าย ( สุ่ม ) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยระยะที่ 2 และระยะที่ 3แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายระยะที่ 3กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนยืนยันการใช้รูปแบบการสอนจำนวน 6 โรงเรียนนักเรียนจำนวน 195 คนครูผู้สอนจำนวน 6 คนใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายพื้นที่การวิจัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 สถิติที่ใช้ในการใช้วิจัย( x ̅ ) ค่าร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( sd . ) และค่า 1 ตัวอย่างขึ้นอยู่กับ )
ผลวิจัยพบว่า
1ผลการการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือแนวคิดและทฤษฎีของรูปแบบการสอนจุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอนสาระการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลขั้นตอนการสอนมีลักษณะเป็นสร้างโมเดลแบ่งเป็น 3 ขั้นความขั้นที่ 1 การเตรียมการสอนประกอบด้วยกิจกรรม C = ปัญญา :การทำให้ตะหนักรับรู้ขั้นที่ 2 การดำเนินการสอนประกอบด้วย 2 กิจกรรมคือกิจกรรม R = E = สะท้อนการสะท้อนความคิดเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าและกิจกรรมซับซ้อนเพื่อสร้าง :การร่วมกันคิดอย่างละเอียดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานขั้นที่ 3 การวัดประเมินผลแลละเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ประกอบด้วย 3 ประกอบด้วยกิจกรรมการประเมิน : การประเมินผลงานกิจกรรม T = คิด :การคิดเชื่อมโยงเพื่อแสดงผลงานและกิจกรรม E = นิทรรศการ : การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
2 ผลการศึกษาการใช้รูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้แก่ ( 2
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: