ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดีที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดของ การแปล - ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดีที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดของ อังกฤษ วิธีการพูด

ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำ


ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดีที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) ซึ่งต้องการศึกษา และเรียนรู้เรื่องเครื่องแต่งกายของมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่วิชาประวัตศาสตร์ และโบราณคดี โดยทูลขอร้องให้หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งสถาปนิกพิเศษของกรมศิลปากร ทางศึกษาแบบอย่าง และเขียนเลียนแบบเครื่องแต่งการสมัยทวารวดีบางรูป โดยในครั้งแรกคิดจะจัดสร้างเครื่องแต่งกายตามสมัยโบราณคดี ถวายทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสร้างใหม่ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แต่หลังจากได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ในการจัดแสดงระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถทอดพระเนตรแทนการจัดแสดงเครื่องแต่งกาย
ระบำโบราณคดีชุดทวารวดีนี้ ในครั้งแรกนำออกแสดงให้ประชาชนชม ณ สังคีตศาลา ในงานดนตรีมหกรรมประจำปี เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๐ ภายหลังจึงนำมาปรับปรุงใหม่เป็นโบราณคดีรวม ๕ สมัย จัดแสดงสำหรับถวายทอดพระเนตร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐
ระบำทวารวดี เป็นระบำสมัยทวารวดี อยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๖ ประดิษฐ์ขึ้นจากลักษณะท่วงท่าอากัปกิริยาของมนุษย์ และเทวรูป รวมทั้งอาภรณ์ และเครื่องประดับที่ปรากฏอยู่บนภาพปั้น และภาพแกะสลัก ที่ค้นพบในประเทศไทย ณ โบราณสถาน ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และตำบลโคกไม้เดนและจัดเสน จังหวัดนครสวรรค์ นักโบราณคดีเชื่อว่าชนชาติที่อาศัยอยู่ในสมัยทวารวดีนี้เป็นมอญ หรือเผ่าชนที่พูดภาษามอญ ทำให้ดนตรี และกระบวนท่ารำ ตลอดจนเครื่องแต่งกายมีลักษณะเป็นแบบมอญ
นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมรสำเนียงออกไปทางเพลงมอญ
นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขวะณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ
นายสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย นางชนานันท์ ช่างเรียน สร้างเครื่องแต่งกาย นายชิต แก้วดวงใหญ่ สร้างศิราภรณ์ และเครื่องประดับ

รูปแบบ และลักษณะการแสดง

ระบำทวารวดี เป็นการระบำหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๖ คน ท่ารำประดิษฐ์ขึ้นโดยเลียนแบบจากภาพปั้น และภาพแกะสลัก เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหว ความสวยงามของการรำอยู่ที่กระบวนท่าที่มีลักษณะเฉพาะ ตามยุคสมัยที่มีความสวยงามในลักษณะเฉพาะของการใช้มือ เท้า และศรีษะ รวมทั้งการแปรแถวในการรำด้วยลักษณะต่าง ๆ
การรำแบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ รำออกมาตามทำนองเพลง
ขั้นตอนที่ ๒ ทำท่ารำตามกระบวนเพลงช้า และเร็ว จนจบกระบวนท่า
ขั้นตอนที่ ๓ ทำท่าจบด้วยการนั่งกลางเวที
ขั้นตอนที่ ๔ รำเข้าเวทีตามทำนองเพลง



0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!

The series showcases a dvaravati dance 1 in rabamboranokdi that arise from the concept of Mr. Poe is built (former Director-General at the Department of fine arts) who want to study and learn about man's costume for the benefit of history Sciences. By the request and said, MOM Chao Ya mind dormitory House then holds the position of architect of the fine arts department to study the example and write to mimic some of the dvaravati era costume picture. He produced a spirit in his work, he opened the Royal Show art antiques in new buildings. The National Museum in Bangkok but after the images as needed, and then change a new concept in exhibit rabamboranokdi various combinations. H.R.H. Princess Sirikit Phra Borommarachininat and spirit instead of a costume exhibition.
Rabamboranokdi set of dvaravati. In the first release showed the people watching at the sangkhit Hall. In the annual celebration of music On March 12, 19372510 (1967) after it was revamped as a modern archaeology 5 total exhibits for May 25, when he produced a spirit 2510 (1967)
. Dance dance from dvaravati is a dvaravati during 14th 11-16 fabrication based on characteristics of human akapkiriya posture and cult image, as well as garments and jewellery shown on figures and carved images. At the ancient, khu BUA, Amphoe u thong, Suphanburi, Ratchaburi province, khok Mai den Sen and Nakhon sawan province. Archaeologists believe that the people who lived in the reign of the dvaravati Mon Mon language-speaking peoples or tribes. And artistic dance and dress are characterized as Mon
. Mr. Montri Tramot Thai instrumental music experts. The fine arts department, a branch of the national artists performing arts (Thai music), the Buddhist year 2528 (1985) as author melody a Yom rasamniang the song Mon
. Mrs. Lamun Yamakhup Thai dance teaching professionals College, natsilop The fine arts department, and Mrs. Chaloei Sukwanit Thai dance teaching professionals College, natsilop The fine arts department, a branch of the national artist for the performing arts (dance) The year Buddhist era As an inventor at dancing
Mr. Sanit disot descendants, costume design Mrs. Chananan technician schools Create a costume Mr. big sun glasses Chit Sira

phon and jewelry creation, format, and display style

. Dance dance is a dvaravati village consists of 6 exhibitors who tha dance invention by imitating carved images and pictures to achieve motion. The beauty of the unique artistic Feet and exfoliate as well as variable row to dance with styles
.The dance is divided into several steps as follows:
1 step dancing came out based on the melody
step 2 do tha music slow and fast procedure by flourish until the end of the 3-step process tha
act ended with a seat in the middle of the stage.
Step 4 bran into the arena by Melody



.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดีที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) ซึ่งต้องการศึกษา และเรียนรู้เรื่องเครื่องแต่งกายของมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่วิชาประวัตศาสตร์ และโบราณคดี โดยทูลขอร้องให้หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งสถาปนิกพิเศษของกรมศิลปากร ทางศึกษาแบบอย่าง และเขียนเลียนแบบเครื่องแต่งการสมัยทวารวดีบางรูป โดยในครั้งแรกคิดจะจัดสร้างเครื่องแต่งกายตามสมัยโบราณคดี ถวายทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสร้างใหม่ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แต่หลังจากได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ในการจัดแสดงระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถทอดพระเนตรแทนการจัดแสดงเครื่องแต่งกาย
ระบำโบราณคดีชุดทวารวดีนี้ ในครั้งแรกนำออกแสดงให้ประชาชนชม ณ สังคีตศาลา ในงานดนตรีมหกรรมประจำปี เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๐ ภายหลังจึงนำมาปรับปรุงใหม่เป็นโบราณคดีรวม ๕ สมัย จัดแสดงสำหรับถวายทอดพระเนตร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐
ระบำทวารวดี เป็นระบำสมัยทวารวดี อยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๖ ประดิษฐ์ขึ้นจากลักษณะท่วงท่าอากัปกิริยาของมนุษย์ และเทวรูป รวมทั้งอาภรณ์ และเครื่องประดับที่ปรากฏอยู่บนภาพปั้น และภาพแกะสลัก ที่ค้นพบในประเทศไทย ณ โบราณสถาน ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และตำบลโคกไม้เดนและจัดเสน จังหวัดนครสวรรค์ นักโบราณคดีเชื่อว่าชนชาติที่อาศัยอยู่ในสมัยทวารวดีนี้เป็นมอญ หรือเผ่าชนที่พูดภาษามอญ ทำให้ดนตรี และกระบวนท่ารำ ตลอดจนเครื่องแต่งกายมีลักษณะเป็นแบบมอญ
นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมรสำเนียงออกไปทางเพลงมอญ
นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขวะณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ
นายสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย นางชนานันท์ ช่างเรียน สร้างเครื่องแต่งกาย นายชิต แก้วดวงใหญ่ สร้างศิราภรณ์ และเครื่องประดับ

รูปแบบ และลักษณะการแสดง

ระบำทวารวดี เป็นการระบำหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๖ คน ท่ารำประดิษฐ์ขึ้นโดยเลียนแบบจากภาพปั้น และภาพแกะสลัก เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหว ความสวยงามของการรำอยู่ที่กระบวนท่าที่มีลักษณะเฉพาะ ตามยุคสมัยที่มีความสวยงามในลักษณะเฉพาะของการใช้มือ เท้า และศรีษะ รวมทั้งการแปรแถวในการรำด้วยลักษณะต่าง ๆ
การรำแบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ รำออกมาตามทำนองเพลง
ขั้นตอนที่ ๒ ทำท่ารำตามกระบวนเพลงช้า และเร็ว จนจบกระบวนท่า
ขั้นตอนที่ ๓ ทำท่าจบด้วยการนั่งกลางเวที
ขั้นตอนที่ ๔ รำเข้าเวทีตามทำนองเพลง



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!

.Dance is a dance of Dvaravati set in archaeological dance arising from the ideas of Mr thanit อยู่โพธิ์ (the former Director-General of the Department of), which would like to study. And learn about the human dress. For the benefit of knowledgeable history.By request, to หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์, which at that time as the architect of the Department of fine arts, special education model. And write the copy machine tune the Dvaravati some pictures.Offer looked in her open the display of art antiques in building new ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ city. But after the image according to need. The new ideas in the dance of archaeology exhibits various seriesAnd the queen Sirikit The queen looked instead to exhibit costume
.Dance of Archaeology Series Dvaravati. In the first mount to the public at สังคีตศาลา in annual music festival on 12 March๒๕๑๐ after the renovation is the archaeology included 5 times exhibit for offering looked on 25 May 2008. ๒๕๑๐
.Dance is a dance in the Dvaravati animal during the 12th-14th 11 to 16 invented hot styles smack poses of human beings and the idol. Including clothing and jewelry that appears on the statue, and engravedAt the ancient, tambon Khu BUA province. U thong province and system of wood residue and Sen, Nakhon Sawan province. Archaeologists believe the people living in this animal is mon or เผ่าชน spoken mon.And the process of the dance, as well as the costume looks like mon
.You would tramod expert of Thai music, fine arts department, national artist in performing arts (Music), a newspaper ๒๕๒๘ author melody. By accent out the music on Mon
.She al mul lamul yamakup specialized teaching Thai dance, Dramatic Arts College Fine Arts Department, and she answers. The souk? Nish specialized teaching Thai dance. College of Arts, fine arts department, national artist Performing Arts (Dance) B.Invented the dance
.You completely. ดิษฐ relationship, costume designer, she was studying. Create nutritional Nan dress นายชิต glass Moon, build ศิราภรณ์ and jewelry.

form and style show

.Dance is a dance of the Dvaravati group 6 people dance invented by copying from the พปั้น and carved to cause the motion. The beauty of the dance in postures that are unique.The foot and head, as well as the variation in the dance style row with various
.The dance is divided into several steps as follows:
step 1 Dance released by melody
step 2 acting dance to the music rhythm is slow and fast. Until the end of the process step 3
act ends with sitting center stage!Step 4 ram into stage by melody



.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: