เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว   ความพอดีด้านส การแปล - เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว   ความพอดีด้านส อังกฤษ วิธีการพูด

เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส พระบาทส

เศรษฐกิจพอเพียง

พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



ความพอดีด้านสังคม
ความพอดีด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ความพอดีด้านเทคโนโลยี
ความพอดีด้านเศรษฐกิจ

กระแสพระราชดำรัส
"ทฤษฎี ใหม่นี้มีไว้สำหรับป้องกัน หรือถ้าในโอกาสปกติ ทำให้ร่ำรวยขึ้น ถ้าในโอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถ ที่จะฟื้น ตัวได้ โดยไม่ต้องให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ทำให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างดี"
พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
"ขอ ให้ทุกคนมีความปราถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบและทำงานตั้งอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความ สงบ เปรียบเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ ฉะนั้น ถ้าท่าน ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคิด และมีอิทธิพลมีพลังที่จะทำให้ผู้อื่น ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวม ให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้ำพอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ ตลอดกาล"


ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันทีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
เงื่อนไขความรู้ ประกอบ ด้วย ความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติ ปัญญาในการ ดำเนินชีวิต

เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สังคมไทยมีชีวิตดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ หรือ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ บนพื้นฐานวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยนำมาประยุกต์ใช้
"ความพอเพียง" หมาย ถึง ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล โดยสร้างภูมิ คุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร เพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว กว้างขวาง ทั้ง ทางด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี โดย อาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และความระมัดระวังในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ วางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน ควบคู่ไปกับการสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติทุกระดับ ให้สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ความมีสติปัญญา และความรอบคอบ มีเหตุผล
โดย ที่ความพอประมาณนั้น หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอ ประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของพอเพียงนั้น จะ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดและผลที่จะ เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ









การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้นั้น ขั้นแรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ในแต่ละครอบครัวมีการบริหารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู้จักตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็นหนี้ และรู้จักดึงศักยภาพในตัวเองในเรื่องของปัจจัยสี่ให้ได้ในระดับหนึ่ง
การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ ดำเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุขที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรือดำเนินชีวิตอย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบียนผู้อื่น หรือเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม โดย
- ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้
- ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ
- ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต
- ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย ประกอบอาชีพ
แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
- มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง
- ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย
- ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกิน คือ ทุนทางสังคม
- ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉียบแหลม
นำความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อปรับวิถีชีวิต
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน






การใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องมีความพอดี ๕ ประการคือ
ความพอดีด้านจิตใจ
- ต้องเข้มแข็ง สามารถพึงตนเองได้
- มีจิตสำนึกที่ดี
- เอื้ออาทร ประนีประนอม
- นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
- ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- รู้รักสามัคคี
- สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน
- รู้จักใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ
- เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนอย่างสูงสุด
- รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม
- พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน
- ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก
- เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร
- พออยู่ พอกินสมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Sufficiency economy Speeches His Majesty the King Fit societyFit side, resources and the environment.Fit technologiesFit the economy. Flow/speeches "This new theory, is intended for the protection or if a regular occasion to make the wealthy if the flood were able to rebound without Government help too much. Make it public yourself. "Speeches His Majesty dusita Sala University December 4 2538 "Ask anyone with the desire to make prodigy are enough. Peace and prayer area set to work, everybody. In this way, that is, a prodigy are enough, not that great, but that it will prosper, there is satisfaction enough. There is a comparison with other countries, peace. If our security is enough, enough of this, we would have realized if you balance which are considered those with ideas and influence with the power to make others who are thinking the same, help each other maintain a section combines, spoils! Should be emphasized enough. Enough is enough. Peace does not make other people take this property from us, it will be a birthday gift that is valuable is. Forever ". Temperance refers to fit not too little and not too much by not exploiting yourself and other people, such as production and consumption at a level sufficiently. Rationality means to decide on the level of adequacy it must reasons are based, as well as consideration of relevant factors, the results that are expected to arise from the specific action that carefully. The best mean to get affected and the different changes that are expected to occur in the future, both near and far.The criteria. Decisions and activities to a level sufficient This requires both knowledge and virtue as basis Terms of knowledge contains the knowledge of the various academic related aspects carefully which will bring the knowledge that interdependency to consider planning and caution in operating stage. Moral conditions that must strengthen awareness honesty are composed with honesty, integrity and patience. With perseverance, used intelligence in lifestyle. เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สังคมไทยมีชีวิตดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ หรือ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ บนพื้นฐานวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยนำมาประยุกต์ใช้ "Self sufficiency" means reasonable enough by immunity in well enough. In order to accommodate the rapid changes to the spacious social, environmental and cultural objects from the outside world as well, by virtue of the knowledge, careful and cautious in bringing various academic. Plan and execute all of the steps in conjunction with the fundamental mind of all levels, moral honesty, Thankfulness. Life with patience. Perseverance, wisdom and prudence there, there is no reason. By the Temperance means fit not too little and not very. Too. Not everyone in ourselves and others, such as production and consumption at a level sufficient. Approx. rationality refers to decisions about the level of adequacy it must reasons is based on the relevant factors and implications carefully. The implementation of the principles of sufficiency economy to come. The first step to "yourself" is to try yourself. In each family there is management fit. Affordable luxuries Each family member must recognize such income-expenditure data in their own families can maintain their level of spending. Don't let debt and recognizes the potential in yourself in the story of the four factors in one level. การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ ดำเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุขที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรือดำเนินชีวิตอย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบียนผู้อื่น หรือเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม โดย- ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้- ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ- ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต- ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย ประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง- มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง- ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย- ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกิน คือ ทุนทางสังคม- ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉียบแหลม นำความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อปรับวิถีชีวิต สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน การใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องมีความพอดี ๕ ประการคือความพอดีด้านจิตใจ- ต้องเข้มแข็ง สามารถพึงตนเองได้- มีจิตสำนึกที่ดี- เอื้ออาทร ประนีประนอม- นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก- ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน- รู้รักสามัคคี- สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน- รู้จักใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ- เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนอย่างสูงสุด- รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม- พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน- ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก- เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร- พออยู่ พอกินสมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เศรษฐกิจพอเพียง

พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



ความพอดีด้านสังคม
ความพอดีด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ความพอดีด้านเทคโนโลยี
ความพอดีด้านเศรษฐกิจ

กระแสพระราชดำรัส
"ทฤษฎี ใหม่นี้มีไว้สำหรับป้องกัน หรือถ้าในโอกาสปกติ ทำให้ร่ำรวยขึ้น ถ้าในโอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถ ที่จะฟื้น ตัวได้ โดยไม่ต้องให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ทำให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างดี"
พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
"ขอ ให้ทุกคนมีความปราถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบและทำงานตั้งอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความ สงบ เปรียบเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ ฉะนั้น ถ้าท่าน ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคิด และมีอิทธิพลมีพลังที่จะทำให้ผู้อื่น ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวม ให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้ำพอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ ตลอดกาล"


ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันทีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
เงื่อนไขความรู้ ประกอบ ด้วย ความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติ ปัญญาในการ ดำเนินชีวิต

เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สังคมไทยมีชีวิตดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ หรือ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ บนพื้นฐานวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยนำมาประยุกต์ใช้
"ความพอเพียง" หมาย ถึง ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล โดยสร้างภูมิ คุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร เพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว กว้างขวาง ทั้ง ทางด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี โดย อาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และความระมัดระวังในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ วางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน ควบคู่ไปกับการสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติทุกระดับ ให้สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ความมีสติปัญญา และความรอบคอบ มีเหตุผล
โดย ที่ความพอประมาณนั้น หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอ ประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของพอเพียงนั้น จะ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดและผลที่จะ เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ









การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้นั้น ขั้นแรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ในแต่ละครอบครัวมีการบริหารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู้จักตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็นหนี้ และรู้จักดึงศักยภาพในตัวเองในเรื่องของปัจจัยสี่ให้ได้ในระดับหนึ่ง
การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ ดำเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุขที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรือดำเนินชีวิตอย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบียนผู้อื่น หรือเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม โดย
- ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้
- ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ
- ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต
- ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย ประกอบอาชีพ
แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
- มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง
- ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย
- ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกิน คือ ทุนทางสังคม
- ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉียบแหลม
นำความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อปรับวิถีชีวิต
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน






การใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องมีความพอดี ๕ ประการคือ
ความพอดีด้านจิตใจ
- ต้องเข้มแข็ง สามารถพึงตนเองได้
- มีจิตสำนึกที่ดี
- เอื้ออาทร ประนีประนอม
- นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
- ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- รู้รักสามัคคี
- สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน
- รู้จักใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ
- เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนอย่างสูงสุด
- รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม
- พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน
- ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก
- เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร
- พออยู่ พอกินสมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Sufficiency economy.Afternoon of his Majesty the king.Fit in society.Fit the resources and environment.Classification technology.Economic balanceSpeech."This new theory for preventing or if on normal occasions, be rich, if the opportunity ที่มีอุทกภัย was able to regain, without government help, too. Make people depend very well ".Royal King Sala dusita University 4 December now,"Ask everyone to have the desire to Thailand to survive. There"s peace and work for prayer in this resolution to Thailand is to survive. Not flourish as a crest, but have to survive. It is calm, compare with other countries. If we keep to survive this. We will balance excellently. So, if you, which is the idea. Influences and has the power to make others, which have the same thoughts. To help maintain public well-being may reasonably. Repeat enough. To survive. There is peace, don"t let people take this property from us. It was a birthday gift to permanently to valuable forever ".Modesty is not fit too and not much more. Without exploit self and others, such as production and consumption in the modest.The rational decision making about the level of protection is simply. Must be reasonable. By considering the factors involved. And realize the anticipated results of it carefullyGood immunity in means to get ready for the impact and changes in various fields that is expected to happen in the future, both near and far.The condition.The decision and implementation of various activities to a level sufficient to rely on both knowledge and moral base.Conditions of knowledge with knowledge of various academic related as the surrounding prudence to use them to consider. Connection to planning and
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: